Vipassana - Mindfulness Meditation, Bangkok, Thailand

Vipassana - Mindfulness Meditation, Bangkok, Thailand

menu

[ หน้าแรก คำนำ ]
[ ปัญหาจากการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ]
[ ภาคปริยัติ (ทฤษฎี) - พื้นฐานหลักธรรมของชีวิต ]
[ ประวัติกรรมฐานในสมัยพุทธกาล ]
[ ประวัติกรรมฐานในประเทศไทย ]
[ หลักฐานอ้างอิงของ การปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ในพระไตรปิฎก และคีมภีร์สำคัญทางพระพุทธศาสนา ]
[ ตารางเปรียบเทียบ วิปัสสนากรรมฐาน รูปแบบบริกรรม พองหนอ ยุบหนอ กับ มหาสติปัฏฐานสูตร ๒๑ บรรพ ]
[ ตารางเปรียบเทียบ กรรมฐานในสมัยพุทธกาล, วิปัสสนาญาณ ๑๖, วิสุทธิ ๗, ไตรสิกขา และอริยมรรคมีองค์ ๘ ]

[ ***ประโยชน์ของ การเจริญสติปัฏฐาน (วิปัสสนากรรมฐาน) ตามแนวของพระพุทธศาสนา ๓๑ ประการ - ฺฺBENEFITS OF VIPASSANA MINDFULNESS BUDDHISM MEDITATION ]

[ ***ประโยชน์ของ การเจริญสติ / สติคลายเครียด ตามแนวของจิตวิทยาทางการแพทย์ ๓๑ เรื่อง - BENEFITS OF MINDFULNESS in PSYCHOLOGY AND NEUROSCIENCE ]
[ ภาคปฏิบัติ และ เทคนิค ในวิธีปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ]
[ *****วิปัสสนาญาณ ๑๖ - เส้นทางและเป้าหมายของวิปัสสนากรรมฐาน ในรูปแบบกำหนด พองหนอ ยุบหนอ ]
[ ปัจจัยที่ทำให้ วิปัสสนาญาณ ๑๖ ก้าวหน้า ]
[ ภาคปฏิเวธ ]

[ ประวัติ / ประสบการณ์การสอนวิปัสสนา เจริญสติ และการบรรยายของ อ.อณิวัชร์ เพชรนรรัตน์ - ผู้ก่อตั้ง ชมรมศูนย์เจริญสติ ]
[ กิจกรรมที่เป็นประโยชน์ แก่ ชุมชนรอบวัดและประชาชนทั่วไป ]
[ ประวัติแม่ชีบุญมี เวชสาร - วัดสัมพันธวงศาราม วรวิหาร กรุงเทพฯ วิปัสสนาจารย์ สายพองยุบ ศิษย์ของ พระอาจารย์ภัททันตะ อาสภะมหาเถระ สำนักวิเวกอาศรม จ.ชลบุรี ]
[ ประวัติการสอนวิปัสสนากัมมัฏฐานของ แม่ชีบุญมี เวชสาร ]

[ เปิดสอน - 1.1 การเจริญสติ พัฒนา โรคทางใจ - MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR MENTAL DISORDERS and SUFFERINGS เช่น โรคซึมเศร้า (Major Depressive Disorder - MDD) โรคย้ำคิดย้ำทำ(Obsessive Compulsive Disorder - OCD) โรคเครียด(Stress Reduction) โรควิตกกังวล(General Anxiety Disorder - GAD) โรคเครียดจากเหตุการณ์ร้ายแรง (posttraumatic stress disorder - PTSD) โรคสมาธิสั้น (Attention deficit hyperactivity disorder - ADHD) การเจ็บป่วยเรื้อรัง โรคนอนหลับยาก โรคโกรธง่าย และโรคทางใจอื่นๆ ด้วยหลักเจริญสติ ผสมผสานกับ หลักการและแนวคิดเพื่อพัฒนาปัญญา/สมอง ]

[ เปิดสอน - 1.2 การเจริญสติ ช่วยบรรเทา ลด ละ การติดยาเสพติด และป้องกันการกลับมาเสพซ้ำ - MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR DRUG ADDICTED AND RELAPSE PREVENTION ]

[ เปิดสอน - 2. การเจริญสติ พัฒนานิสัยอารมณ์ตนเอง, ปัญหาการทำงาน/อาชีพ และ ปัญหาในครอบครัว - MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR SELF, CAREER AND FAMILY HAPPINESS ]

[ เปิดสอน - 3. การเจริญสติ พัฒนาการเรียน สำหรับ นักเรียน และ นิสิต – MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR STUDENT EDUCATION ]

[ เปิดสอน - 4. การเจริญสติ พัฒนาการสอน/เลี้ยงลูก สำหรับ คู่สามีภรรยา – MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR CHILD TEACHING & PARENTING PREPARATION ]

[ เปิดสอน - 5. การเจริญสติ พัฒนาสมอง/ความจำ สำหรับ ผู้เกษียณ และ ผู้สูงอายุ - MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR RETIRED AND ELDERLY ]

[ เปิดสอน - 6. การเจริญสติ พัฒนานิสัยอารมณ์ /ปัญญา/ เป้าหมายของการบวช/ ไตรสิกขา เพื่อเป็นคนดีของครอบครัว ที่ทำงาน และสังคม สำหรับ พระภิกษุบวชใหม่ - MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR NEW BUDDHIST MONKS ]

[ 7. สนับสนุนสร้าง ศูนย์เจริญสติ - วิปัสสนากัมมัฏฐาน ประจำวัด และ ถวายสอน วิปัสสนากัมมัฏฐาน เพื่อสร้าง พระวิปัสสนาจารย์ - VIPASSANA MINDFULNESS MEDITATION CENTER IN A TEMPLE AND VIPASSANA MEDITATION MASTER FOR MONKS ]

[ 8. กิจกรรมแนะนำ และ สนับสนุนพัฒนาวัด เพื่อสร้าง แผนกปริยัติ ปฏิบัติ และ งานเผยแผ่ แก่ชุมชน - TEMPLE DEVELOPMENT CONSULTANT AND SUPPORT FOR KNOWLEDGE THEORY SECTION, PRACTICE SECTION AND BUDDHIST DISSEMINATION FOR COMMUNITY SERVICES ]

[ 9. VIPASSANA MINDFULNESS MEDITATION IN BANGKOK FOR FOREIGNERS TO DEVELOP SELF TEMPER/EMOTION, WORK/CAREER AND FAMILY HAPPINESS FOR FREE AS PUBLIC SERVICES AND BUDDHIST DISSEMINATION ]

[ 10. MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT AT WORK - การเจริญสติ/ปัญญา ในที่ทำงาน เพื่อพัฒนาบุคลากรในองค์กร ให้เกิดความสุข ปัญญา พัฒนาการทำงาน ปรับปรุงนิสัยตนเอง และ สร้างความสุขในครอบครัว ]

[ 11. MINDFULNESS AT SCHOOL - การเจริญสติใน โรงเรียน แก่ครู เพื่อสอนนักเรียน ในการพัฒนาการเรียน นิสัย ปัญหาครอบครัว สังคมเพื่อน และอนาคต ให้เกิดความสุข / ปัญญา ]

[ 12. CASE STUDIES FOR MENTAL DISORDER BY MINDFULNESS MEDITATION - กรณีศึกษา : ผู้เข้ารับการฝึกเจริญสติ เพื่อบรรเทาช่วยเหลือ โรคทางใจ เช่น โรคแพนิค โรควิตกกังวล โรคซึมเศร้า โรคเครียด โรคนอนหลับยาก โรคย้ำคิดย้ำทำ นอนหลับยาก ]

[ 13. กิจกรรมบริจาคทาน ของ ชมรมศูนย์เจริญสติ วัดลาดพร้าว ]

[ ALMA MATER and EXPERIENCES BACKGROUND OF VIPASSANA MEDITATION TEACHER ]


ประโยชน์ของการเจริญสติ ต่อเนื่องทุกวันอย่างน้อย 8 สัปดาห์ - MINDFULNESS MEDITATION / สติคลายเครียด - MINDFULNESS STRESS REDUCTION ตามแนวของจิตวิทยาทางการแพทย์

   ประโยชน์ของการเจริญสติ (Mindfulness Meditation) / สติคลายเครียด (Mindfulness Stress Reduction) ต่อเนื่องทุกวัน อย่างน้อย 8 สัปดาห์ ตามแนวของจิตวิทยา ๓๑ เรื่อง จากบางส่วนของ งานวิจัยระดับสากล มีดังนี้

     ช่วยลด อาการซึมเศร้า ได้ 75% (Depression)
(http://www.medicaldaily.com/benefits-meditation-mind-and-body-reducing-stress-immune-system-382023)
(http://cogbtherapy.com/depression-los-angeles/)

      ๓เพิ่มภูมิต้านทานได้ 50% (Immune System) และช่วยลดแรงดันเลือด (Lower Blood Pressure)
(http://www.medicaldaily.com/benefits-meditation-mind-and-body-reducing-stress-immune-system-382023)

      ๔เพิ่มเนื้อสมองส่วนสีเทา (Grey Matter ป้องกันโรคสมองเสื่อม / dementia ความจำเสื่อม / Alzheimer, โรคสันนิบาต ร่างกายสั่น Parkinson)  พัฒนาด้านสติเหตุผล ความจำ ความคิดสร้างสรรค์ และยังกระตุ้นการทำงานของสมองในส่วน Prefrontal Cortex (พัฒนาสติ เหตุผล การตัดสินใจ)Anterior Cingulate Cortex (ความตั้งใจ การควบคุมแรงกระตุ้นสิ่งเร้า), Hippocampus (พัฒนาความจำ),  และลดการทำงานของ Anterior Insula (ความเครียด ขยะแขยง เกลียด ไม่พอใจ)
      ๕. ควบคุมสมองด้านอารมณ์ลบ ก้าวร้าวรุนแรงต่อสู้ หรือกลัวหนี (Amygdala - Fight or Flight Mode)
(https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4109098/)

      ๖ลดความเครียดได้ ทำให้แก่ช้าลง (Stress Reduction)
(https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3850932/)

      ๗ช่วยคลายเครียด ด้วยการสร้างโทเลเมีย (Telomere) คุมที่ปลายของโครโมโซม ซึ่งสามารถลดความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็ง (Dr. Elizabeth Blackburn)
(http://happinessisthailand.com/2016/02/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%8D%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%A2%E0%B8%B7/)
(https://www.psychologytoday.com/blog/therapy-it-s-more-just-talk/201701/the-telomere-effect)

      ๘ช่วยให้แก้ไขในขณะเกิดสถานการณ์คับขันได้ดี (Resilience for Daily Struggles Conflicts & Crisis Resolution)
      ๙พัฒนาความตั้งใจในการรับรู้ (Kid’s Attention) และควบคุมอารมณ์ได้ดีขึ้น (Emotion Regulation)
(https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5337506/)
(https://www.todaysparent.com/family/mindfulness-for-kids-learning-emotional-regulation-in-school/)

      ๑๐ช่วยให้รู้ทัน ความคิดลบ อารมณ์/ความรู้สึก และพฤติกรรม (Thoughts Emotion and Behavior)
(https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4295876/)

      ๑๑. ช่วยพัฒนาทักษะในการสื่อสาร มนุษยสัมพันธ์ และการอยู่ร่วมกับสังคมได้ดี (Interpersonal Skills)
(https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0191886907004242)

      ๑๒. ช่วยพัฒนากระตุ้นสมอง ด้านความเมตตา กรุณา และเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่ผู้อื่น (Loving Kindness and Compassion)
(https://positivepsychologyprogram.com/loving-kindness-meditation/)

         ๑๓. ทำให้สมองเกิดคลื่นความสุขภายในที่เรียกว่า แกมม่าเวฟ (Gamma Wave) 
(http://web.stanford.edu/group/hopes/cgi-bin/hopes_test/meditation-and-hd/)
(https://blog.mindvalley.com/gamma-brain-waves/)
(https://www.smithsonianmag.com/smart-news/the-worlds-happiest-man-is-a-tibetan-monk-105980614/)

     ๑๔. การเจริญสติคลายเครียด และการทำสมาธิ ช่วยสร้างความหนาแน่นเพิ่มขึ้นในสมองส่วน Cortical Thickness ในการป้องกัน Brain Maturation, Aging และ Dementia ซึ่งอาจทำให้เกิดโรค ความจำเสื่อม-Alzheimer, โรคสันนิบาต (ร่างกายสั่น) Parkinson, Vascular Dementias จากงานวิจัยของ Dr. Sara Lazar 
(https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5743433/)
(https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/26445019/)

     ๑๕. ช่วยลดอัตราเสี่ยง เมื่อใช้คู่กับการรักษา DBT (Dialectical Behavior Therapy) สำหรับ โรคทำร้ายตัวเอง การคิดถึงการฆ่าตัวตาย และการรักษาความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบก้ำกึ่ง (BPD - Borderline Personality Disorder) โดย Marsha Linehan 
(http://www.psychotherapybrownbag.com/psychotherapy_brown_bag_a/2009/03/dialectical-behavior-therapy-skills-part-1-mindfulness.html)

     ๑๖. ช่วยป้องกันการกลับมาเสพซ้ำ และลดอาการ ของโรคซึมเศร้า อยากเสพเหล้า/แอลกอฮอล อยากเสพยา และ SUD - Substance Use Disorder ในสารเสพติดของผู้เสพ (https://www.rehab4alcoholism.com/article/45/ultimate-guide-to-mindfulness-and-addiction)

     ๑๗. ช่วยให้นอนหลับได้เร็วขึ้น ในโรคนอนหลับยาก Crinical Insomnia
(https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5300077/)
(https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC6171769/)

     ๑๘. ช่วยพัฒนาสร้าง ความตั้งใจ จดจ่อ และสมาธิ ให้กับนักเรียน 
โดย บทความ The Effects of Mindfulness on Students’ Attention ของ Rose Bringus 
(http://sophia.stkate.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=1189&context=maed)

     ๑๙. ช่วยลด ACTH (AdrenoCorticoTropic Hormone) หรือที่เรียกว่า Stress Hormone ที่ถูกผลิตออกจาก ต่อมไฮโปธาลามัส - hypothalamus และ ต่อม พิททูอิทารี pituitary gland 
   ความเครียดที่เกิดขึ้นในร่างกายสามารถทำให้เกิดอาการดังนี้
   -ไมเกรน - Migrane
   -ไฮเปอร์เทนชั่น เครียด - Hypertension
   -การอดนอน / นอนหลับไม่เพียงพอ - Sleep Deprivation 
   -ความเหนื่อยล้า อ่อนเพลีย - Chronic Fatigue Syndrom CFS
   -ท้องร่วง หรือ ท้องผูก - Diarrahea or Constipation
   -กรดไหลย้อน - Gastroesophageal Reflux Desease GERD / Acid Reflux Disease
   -สิว - Acne
   -ลมพิษ ผื่นคัน - Hives
   -โรคอ้วน - Eating Disorders 
   -ไขมันสะสมในเส้นเลือด ทำให้แข็ง จนเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ - Atheroscierosis
   (https://palousemindfulness.com/docs/what-is-stress.pdf)

     ๒๐. ช่วยลดความเครียด และลดความเสี่ยงที่จะทำให้ เซลล์สมอง Brain Cells หดตัว บีบแคบเล็กลง ทำลายเซลล์สมอง และยับยั้งการสร้างเซลล์สมองใหม่ 
(https://bebrainfit.com/effects-chronic-stress-brain/)

     ๒๑. ช่วยลดความเครียด และลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิต จากการศึกษาปี 2006 พบว่า 
ความเครียดมีผลทำให้เกิด ความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตมากถึง 43% เมื่อเราคิดว่ามันอันตรายกับเรา
(www.nicetofit.com/สารแห่งความสุข)

     ๒๒. ช่วยลดความเครียด เพราะความเครียดอาจทำให้น้ำตาล (Blood Sugar Glucose Level) หัวใจเต้นเร็ว และความดันเลือดสูง (Blood Pressure)
(https://www.google.com/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=web&cd=&cad=rja&uact=8&ved=2ahUKEwjnsebtyKz6AhW9cWwGHVIVBYAQFnoECB8QAQ&url=https%3A%2F%2Fwww.ncbi.nlm.nih.gov%2Fpmc%2Farticles%2FPMC5934947%2F&usg=AOvVaw394TcMMli0ayBgOsIDzimM)
(https://www.google.com/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=web&cd=&cad=rja&uact=8&ved=2ahUKEwjnsebtyKz6AhW9cWwGHVIVBYAQFnoECDQQAQ&url=https%3A%2F%2Fwww.ncbi.nlm.nih.gov%2Fpmc%2Farticles%2FPMC7270218%2F&usg=AOvVaw27b-2NHRWfSBH8HA1exMPF)

     ๒๓. ช่วยลดความเครียด เพราะความเครียดอาจทำให้เบื่ออาหาร กินอาหารได้น้อย และทำให้น้ำหนักตัวลดลง แต่บางคนอาจมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น เพราะเกิดอาการอยากทานอาหารประเภทแป้ง 
และน้ำตาลเพิ่มขึ้น(Eating Disorders) ในขณะที่มีความเครียด
(https://palousemindfulness.com/docs/what-is-stress.pdf)

     ๒๔. ช่วยลดความเครียด เพราะความเครียดอาจทำให้เกิดอาการทางร่างกาย เช่น ร้อนวูบวาบตามร่างกาย คลื่นไส้อาเจียน หน้ามืด วิงเวียน แน่นหน้าอก เกิดกรดในกระเพาะมาก ระบบย่อยอาหารหยุดการทำงาน(Digestion Shutdown) และโรคกรดไหลย้อน 
(https://autoimmunewellness.com/think-about-it-better-digestion-through-mindfulness/)

     ๒๕. การเจริญสติต่อเนื่องเกิน ๘ สัปดาห์จะช่วยเพิ่มการทำงานของภูมิต้านทาน (Immune System Functioning) และเพิ่มการทำงานของสมองส่วนซ้าย (Left-Brain Activity) ซึ่งทำหน้าที่ในด้านการใช้สติ เหตุผล ความจำ การตัดสินใจ การใช้ภาษา ฯลฯ จากงานวิจัยของ Dr. Richard Davidson 
(https://ritualsofhealing.com/blog/left-brain-activation-and-mindfulness)

     ๒๖. การเจริญสติต่อเนื่อง สามารถช่วยลด ความเจ็บปวดทั่วไปได้  ๕๗% และ ความเจ็บปวดรุนแรงได้ถึง ๔๐% จากงานวิจัยของผู้ฝึก ๔ วันต่อเนื่อง
(https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4941786/)

     ๒๗. การเจริญสติบำบัดอย่างต่อเนื่อง ได้ผลดีเช่นเดียวกับ การใช้ยาบำบัดโรคซึมเศร้า จากการค้นพบของการศึกษา
(http://www.independent.co.uk/news/science/mindfulness-therapy-depression-anti-depressants-mental-health-research-meditation-a7003546.html)

     ๒๘. การเจริญสติอย่างต่อเนื่อง เพิ่มการจดจ่อ (Focus) ความตั้งใจ มุ่งมั่น ในการเรียน และการทำงาน ได้มากกว่าถึง ๑๐ เท่าในกลุ่มทดลอง
(http://www.medicaldaily.com/benefits-meditation-mind-and-body-reducing-stress-immune-system-382023)

     ๒๙. การเจริญสติอย่างต่อเนื่อง ลดความวิตกกังวล (Anxiety) ได้ถึง ๓๐/๓๙ % ในกลุ่มทดลอง
(http://www.medicaldaily.com/benefits-meditation-mind-and-body-reducing-stress-immune-system-382023)
(http://www.wakehealth.edu/NewsReleases/2013/Anxious_Activate_Your_Anterior_Cingulate_Cortex_With_a_Little_Meditation.htm)

     ๓๐. การเจริญสติอย่างต่อเนื่อง ช่วยเสริมสร้าง สารสุข (Serotonin) ให้กับสมอง ทำให้เกิดความผ่อนคลาย นอนหลับง่าย ช่วยบรรเทาอาการซึมเศร้า
(https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3044190/)

     ๓๑. การเจริญสติอย่างต่อเนื่อง ทำให้ระบบประสาท พาราซิมพาเธทิค (Parasympathetic) ทำงานดีขึ้น ซึ่งมีผลทำให้สงบ ลดความเครียดทำให้การเต้นของหัวใจลดลง ความดันโลหิตลดลง 
การเผาผลาญอาหารในร่างกายลดลง แก่ช้าลง และ อายุยืนขึ้น
(https://www.psychologytoday.com/us/blog/turning-straw-gold/201109/4-tips-slowing-down-reduce-stress)
 
     ประโยชน์ของการเจริญสติ ยังมีอีกมากกว่า 1000 งานวิจัย แสดงให้เห็นถึงคุณค่า และผลที่ได้เชิงวิทยาศาสตร์ พิสูจน์ออกมาเป็นรูปธรรม ยอมรับไปทั่วโลก ในศาสตร์ด้านจิตวิทยาการแพทย์