Vipassana - Mindfulness Meditation, Bangkok, Thailand

Vipassana - Mindfulness Meditation, Bangkok, Thailand

menu

[ หน้าแรก คำนำ ]
[ ปัญหาจากการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ]
[ ภาคปริยัติ (ทฤษฎี) - พื้นฐานหลักธรรมของชีวิต ]
[ ประวัติกรรมฐานในสมัยพุทธกาล ]
[ ประวัติกรรมฐานในประเทศไทย ]
[ หลักฐานอ้างอิงของ การปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ในพระไตรปิฎก และคีมภีร์สำคัญทางพระพุทธศาสนา ]
[ ตารางเปรียบเทียบ วิปัสสนากรรมฐาน รูปแบบบริกรรม พองหนอ ยุบหนอ กับ มหาสติปัฏฐานสูตร ๒๑ บรรพ ]
[ ตารางเปรียบเทียบ กรรมฐานในสมัยพุทธกาล, วิปัสสนาญาณ ๑๖, วิสุทธิ ๗, ไตรสิกขา และอริยมรรคมีองค์ ๘ ]

[ ***ประโยชน์ของ การเจริญสติปัฏฐาน (วิปัสสนากรรมฐาน) ตามแนวของพระพุทธศาสนา ๓๑ ประการ - ฺฺBENEFITS OF VIPASSANA MINDFULNESS BUDDHISM MEDITATION ]

[ ***ประโยชน์ของ การเจริญสติ / สติคลายเครียด ตามแนวของจิตวิทยาทางการแพทย์ ๓๑ เรื่อง - BENEFITS OF MINDFULNESS in PSYCHOLOGY AND NEUROSCIENCE ]
[ ภาคปฏิบัติ และ เทคนิค ในวิธีปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ]
[ *****วิปัสสนาญาณ ๑๖ - เส้นทางและเป้าหมายของวิปัสสนากรรมฐาน ในรูปแบบกำหนด พองหนอ ยุบหนอ ]
[ ปัจจัยที่ทำให้ วิปัสสนาญาณ ๑๖ ก้าวหน้า ]
[ ภาคปฏิเวธ ]

[ ประวัติ / ประสบการณ์การสอนวิปัสสนา เจริญสติ และการบรรยายของ อ.อณิวัชร์ เพชรนรรัตน์ - ผู้ก่อตั้ง ชมรมศูนย์เจริญสติ ]
[ กิจกรรมที่เป็นประโยชน์ แก่ ชุมชนรอบวัดและประชาชนทั่วไป ]
[ ประวัติแม่ชีบุญมี เวชสาร - วัดสัมพันธวงศาราม วรวิหาร กรุงเทพฯ วิปัสสนาจารย์ สายพองยุบ ศิษย์ของ พระอาจารย์ภัททันตะ อาสภะมหาเถระ สำนักวิเวกอาศรม จ.ชลบุรี ]
[ ประวัติการสอนวิปัสสนากัมมัฏฐานของ แม่ชีบุญมี เวชสาร ]

[ เปิดสอน - 1.1 การเจริญสติ พัฒนา โรคทางใจ - MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR MENTAL DISORDERS and SUFFERINGS เช่น โรคซึมเศร้า (Major Depressive Disorder - MDD) โรคย้ำคิดย้ำทำ(Obsessive Compulsive Disorder - OCD) โรคเครียด(Stress Reduction) โรควิตกกังวล(General Anxiety Disorder - GAD) โรคเครียดจากเหตุการณ์ร้ายแรง (posttraumatic stress disorder - PTSD) โรคสมาธิสั้น (Attention deficit hyperactivity disorder - ADHD) การเจ็บป่วยเรื้อรัง โรคนอนหลับยาก โรคโกรธง่าย และโรคทางใจอื่นๆ ด้วยหลักเจริญสติ ผสมผสานกับ หลักการและแนวคิดเพื่อพัฒนาปัญญา/สมอง ]

[ เปิดสอน - 1.2 การเจริญสติ ช่วยบรรเทา ลด ละ การติดยาเสพติด และป้องกันการกลับมาเสพซ้ำ - MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR DRUG ADDICTED AND RELAPSE PREVENTION ]

[ เปิดสอน - 2. การเจริญสติ พัฒนานิสัยอารมณ์ตนเอง, ปัญหาการทำงาน/อาชีพ และ ปัญหาในครอบครัว - MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR SELF, CAREER AND FAMILY HAPPINESS ]

[ เปิดสอน - 3. การเจริญสติ พัฒนาการเรียน สำหรับ นักเรียน และ นิสิต – MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR STUDENT EDUCATION ]

[ เปิดสอน - 4. การเจริญสติ พัฒนาการสอน/เลี้ยงลูก สำหรับ คู่สามีภรรยา – MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR CHILD TEACHING & PARENTING PREPARATION ]

[ เปิดสอน - 5. การเจริญสติ พัฒนาสมอง/ความจำ สำหรับ ผู้เกษียณ และ ผู้สูงอายุ - MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR RETIRED AND ELDERLY ]

[ เปิดสอน - 6. การเจริญสติ พัฒนานิสัยอารมณ์ /ปัญญา/ เป้าหมายของการบวช/ ไตรสิกขา เพื่อเป็นคนดีของครอบครัว ที่ทำงาน และสังคม สำหรับ พระภิกษุบวชใหม่ - MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR NEW BUDDHIST MONKS ]

[ 7. สนับสนุนสร้าง ศูนย์เจริญสติ - วิปัสสนากัมมัฏฐาน ประจำวัด และ ถวายสอน วิปัสสนากัมมัฏฐาน เพื่อสร้าง พระวิปัสสนาจารย์ - VIPASSANA MINDFULNESS MEDITATION CENTER IN A TEMPLE AND VIPASSANA MEDITATION MASTER FOR MONKS ]

[ 8. กิจกรรมแนะนำ และ สนับสนุนพัฒนาวัด เพื่อสร้าง แผนกปริยัติ ปฏิบัติ และ งานเผยแผ่ แก่ชุมชน - TEMPLE DEVELOPMENT CONSULTANT AND SUPPORT FOR KNOWLEDGE THEORY SECTION, PRACTICE SECTION AND BUDDHIST DISSEMINATION FOR COMMUNITY SERVICES ]

[ 9. VIPASSANA MINDFULNESS MEDITATION IN BANGKOK FOR FOREIGNERS TO DEVELOP SELF TEMPER/EMOTION, WORK/CAREER AND FAMILY HAPPINESS FOR FREE AS PUBLIC SERVICES AND BUDDHIST DISSEMINATION ]

[ 10. MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT AT WORK - การเจริญสติ/ปัญญา ในที่ทำงาน เพื่อพัฒนาบุคลากรในองค์กร ให้เกิดความสุข ปัญญา พัฒนาการทำงาน ปรับปรุงนิสัยตนเอง และ สร้างความสุขในครอบครัว ]

[ 11. MINDFULNESS AT SCHOOL - การเจริญสติใน โรงเรียน แก่ครู เพื่อสอนนักเรียน ในการพัฒนาการเรียน นิสัย ปัญหาครอบครัว สังคมเพื่อน และอนาคต ให้เกิดความสุข / ปัญญา ]

[ 12. CASE STUDIES FOR MENTAL DISORDER BY MINDFULNESS MEDITATION - กรณีศึกษา : ผู้เข้ารับการฝึกเจริญสติ เพื่อบรรเทาช่วยเหลือ โรคทางใจ เช่น โรคแพนิค โรควิตกกังวล โรคซึมเศร้า โรคเครียด โรคนอนหลับยาก โรคย้ำคิดย้ำทำ นอนหลับยาก ]

[ 13. กิจกรรมบริจาคทาน ของ ชมรมศูนย์เจริญสติ วัดลาดพร้าว ]

[ ALMA MATER and EXPERIENCES BACKGROUND OF VIPASSANA MEDITATION TEACHER ]


เปิดถวายสอน - สติพัฒนาปัญญา สำหรับ พระภิกษุบวชใหม่ - MINDFULNESS DEVELOPMENT FOR NEW BUDDHIST MONK


เนื้อหาบรรยายและภาคปฏิบัติใน การเจริญสติพัฒนาปัญญา สำหรับ พระภิกษุบวชใหม่:


๑.  ปัญหาที่เกิดขึ้น

     ๑.๑  การอบรมสั่งสอนของวัด


-เป้าหมาย ของการบวช 

-บวชเพื่ออะไร 
-บวชแล้วต้องศึกษาปฏิบัติอะไร 

-สึกออกไปแล้วจะได้อะไรจากวัดแล้วจะประยุกต์ใช้ธรรมะกับชีวิตได้อย่างไร
-การศึกษาอบรมปฏิบัติ -ไตรสิกขา ศีล สมาธิ ภาวนา (สมถ / วิปัสสนาภาวนา)  

-ชื่อเสียงของวัดและพระพุทธศาสนา
-ความศรัทธาและเคารพ ต่อ พระพุทธศาสนา

-กิจกรรมของพระภิกษุในวัด
-การพัฒนาจิตของพระภิกษุในวัด

-การควบคุมนิสัยอารมณ์ ระหว่างที่บวช และนำออกไปใช้หลังจากสึก
-งานเผยแผ่พระพุทธศาสนา และทำประโยชน์ต่อชุมชน

-พฤติกรรมของพระภิกษุในวัด
-ความสัมพันธ์กับพระภิกษุในวัด (SOCIAL RELATIONSHIP)

-การใช้อารมณ์เป็นหลัก ความมีเหตุผลลดลง
-ทุกขทัศนนิยม หรือ ความคิดเชิงลบ
-การฝึกฝน สาวหาเหตุในอดีต และเล็งผลไปถึงอนาคต

-อารมณ์ซึมเศร้า ไม่พอใจ โกรธ เสียใจ ภายในใจ โดยไม่รู้ตัว 
-เอาแต่ใจ และ ตามใจ ตัวเอง 

-มีอคติและความคิดลบ ต่อการสวดมนต์ เพราะ เกิดความเบื่อหน่าย  เจ็บปวด และเวทนาทั้งทางกายใจ ขณะสวดมนต์ ในที่สุดเกิดความไม่เข้าใจ เบื่อ กลัว เข็ด และไม่อยากสวดมนต์
-มีอคติต่อการนั่งสมาธิ และเดินจงกรม

-กลัวต่อการนั่งสมาธิ และเดินจงกรม
-เข็ดขยาดและหนี การปฏิบัติธรรม

-ประโยชน์ที่ได้จากวัด หลังจากสึกออกไป ด้าน จิตใจอารมณ์, การพัฒนาตนเอง ครอบครัว และสังคม
-บวชออกไปแล้วไม่ได้พัฒนาจิตใจตนเองเท่าที่ควร และนิสัยอารมณ์ไม่ได้รับการพัฒนา

-ไม่สามารถประยุกต์หลักธรรม ในการครองตน กับครอบครัว และในที่ทำงาน
-เกิดกิเลส ๓ (โมหะ โลภะ โทสะ) มากกว่า การลดละ ในระหว่างบวช

-ความรู้ในด้านปฏิบัติ หรือ กัมมัฏฐาน
-ความรู้ด้านปริยัติ หรือ ทฤษฎี ของ พระพุทธศาสนา

-การเรียนรู้ในกระบวนการพัฒนาปัญญา (สุตมยปัญญา จินตามยปัญญา และ ภาวนามยปัญญา)
-การอบรมให้เกิด การใฝ่รู้ในความรู้ การพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง และการเสาะหาแหล่งเรียนรู้

-กระบวนและวิธีการฝึกฝน ในการแก้ปัญหา และ หาหนทางแก้ไข
-การใช้ชีวิตในสังคมวัด (การบิณฑบาตร ฉันท์เพลกลางวัน สวดงานศพ รับสังฆทาน เรียนปริยัติ และการอยู่ร่วมกัน กับสังคมพระสงฆ์ในวัด)

-การพัฒนา ด้าน สุขภาพกาย และ สุขภาพใจ
-กิจกรรมที่สนับสนุน พระภิกษุ ในงานเผยแผ่แก่ชุมชน

-การรู้จักใช้ และบริหารจัดการ ปัจจัย/เงิน ที่ได้มาในขณะบวช

     ๑.๒  งานเผยแผ่แก่ชุมชน

-ความเป็นศูนย์กลาง และที่พึ่งทางจิตวิญญาณของชุมชน
-กิจกรรมของวัดแก่ชุมชน

-ปัญหาสังคม ครอบครัว ของชุมชน
-กิจกรรมอีกมากมายที่ชุมชนต้องการ

-ความร่วมมือจากชุมชน
-ความร่วมมือจากผู้เกษียณ และผู้มีความรู้ ที่พร้อมจะร่วมกิจกรรมกับวัด


๒. สาเหตุของปัญหา

-การศึกษาและปฏิบัติ ในหน้าที่ของพุทธบริษัท ๔
-ระบบการบริหาร
-การจัดสรรบุคลากร เพื่อปฏิบัติหน้าที่

-การบริหารของวัด ในกระบวนการรับพระบวชใหม่
-เงื่อนไขและกระบวนการรับพระบวชใหม่

-บุคลากรที่มีความรู้ในการอบรมพระบวชใหม่

-แผนกปริยัติของวัด
-บุคลากรแผนกปริยัติของวัด

-แผนกปฏิบัติของวัด
-บุคลากรแผนกปฏิบัติของวัด

-พื้นฐานความรู้
-การศึกษา (ไตรสิกขา)

-การอบรมสั่งสอนจากครอบครัว
-สภาพแวดล้อม จากเพื่อน / ที่ทำงาน / อาชีพ

-การเผยแผ่หลักปริยัติ และ ปฏิบัติ แก่ชุมชน
-การเรียนรู้สังคมที่เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว

-วิสัยทัศน์ และ ทัศนคติเชิงบวก
-กิจกรรมในวัดที่ก่อเกิด กิเลส ๓ (โมหะ โลภะ โทสะ)

-ความสามารถในการควบคุมกิเลส ๓  ในระหว่างวัน 
-สติปัญญาในระหว่างวัน ขณะบิณฑบาตร, ฉันท์เพล ในหรือนอกวัด และสวดงานศพ (ถ้ามี)

-ความรู้ในการพัฒนาจิตให้กิเลส ๓ ลดน้อยลง 
-ความรู้ทางปัญญาทางพุทธศาสนา

-ความรู้ด้านอื่นๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการเผยแผ่ให้ชุมชน
-การสนับสนุนของวัด


-การประเมินผล และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง


๓. สร้างเป้าหมาย ถึงผลที่ต้องการ

-มีเป้าหมายของการบวชที่ถูกต้อง
-มีความรู้ด้านพระพุทธศาสนาให้ถึงแก่นกลาง

-เข้าถึง ไตรสิกขา ทั้ง ภาคปริยัติและปฏิบัติได้จริง
-เข้าถึง ความสุข ๓ ของพระพุทธศาสนา(กามสุข สมาธิสุข นิพพานสุข) โดยมีความสุข ทั้งด้านจิตใจ และร่างกาย

-ลดความทุกข์ให้น้อยลง
-สร้างศรัทธาในเรื่องวัฏฏสงสาร ชาติต่อไป และ ตายแล้วต้องไปเกิดในภพภูมิต่างๆ

-เตรียมสะสม อริยทรัพย์ภายใน และบุญกุศล เพื่ออนาคตในชาติต่อไป  โดยลดละกิเลส ๓ เพื่อปิดอบายภูมิ ๔
-มีความอดทนต่อความยากลำบาก

-ฝึกฝนปฏิบัติจิตใจให้เป็นพระที่แท้จริง
-ทำประโยชน์ต่อ ตนเอง ครอบครัว และสังคม 

-พัฒนาการเผยแผ่ ด้านธรรมนิเทศ
-พัฒนาสติ และปัญญา ลดละกิเลส ๓ (โมหะ โลภะ โทสะ)

-พัฒนาความสัมพันธ์กับสังคมในวัด
-ฝึกฝนจิตให้เกิดความพอเพียง อยู่ได้ และปล่อยวางได้ กับทุกเหตุการณ์

-พัฒนา สุขทัศนนิยม หรือ ความคิดเชิงบวก (POSITIVE THINKING)
-จิตสร้างสรรค์ และจิตวิทยาเชิงบวก

-พัฒนา หลัก เหตุ(อดีต) และ ผล(อนาคต) (CAUSE AND EFFECT)
-พัฒนา คุณค่าของชีวิต

-พัฒนา การเป็นผู้ให้ (GIVER, NOT TAKER)
-เพื่อเป้าหมายสูงสุด คือ การตัดวัฏฏสงสาร และเข้าถึงพระนิพพาน


๔. วิธีการปฏิบัติเพื่อนำสู่เป้าหมาย

     ๔.๑ ศึกษาประวัติและความรู้ทั่วไป

-เรียนรู้ข้อดี ข้อด้อย ของตัวเอง
-ศึกษาย้อนกลับไปสู่เหตุการณ์สำคัญในอดีต

-เรียนรู้เหตุการณ์ในอดีต
-คิดวิเคราะห์เหตุการณ์ได้

-นำอดีตมาใช้ในปัจจุบันเพื่ออนาคตที่ดี
-ความชำนาญในอดีต และความสนใจในกิจกรรมต่างๆ

     ๔.๒ ฝึกฝนด้านทฤษฎี

-หลักพุทธธรรม
-หลักไตรสิกขา

-หลักสติปัฎฐาน เพื่อนำสู่ภาคปฏิบัติจริง (VIPASSANA or MINDFULNESS MEDITATION)
-ความหมาย ประโยชน์ และวิธีฝึก การเจริญสติ (MINDFULNESS MEDITATION)

-การสอน และการเผยแผ่ เรื่องสติ (MINDFULNESS) ในโลกตะวันตก
-การพัฒนาปัญญาเพื่อพัฒนาจิตตนเอง (WISDOM & ENLIGHTMENT DEVELOPMENT)

-ความสุข 3 ประเภทของ พุทธศาสนา
-การทำงานของจิต, เรียนรู้อารมณ์ต่างๆ และวิธีบริหารจัดการจิต/อารมณ์

-เรื่องวัฏฏสงสาร การเวียนว่ายตายเกิด และชาติหน้า
-การสร้างอริยทรัพย์ภายใน

-ความคิดเชิงบวก (POSITIVE THINKING)
-หลักเหตุและผล

-การโปรแกรมสมองเพื่อสร้างสิ่งใหม่ๆ ตามแนว NLP
-กระบวนการในการแก้ปัญหา ตามหลักอริยสัจ 4 (BUDDHIST PROBLEM SOLVING)

     ๔.๓ ฝึกฝนด้านภาคปฏิบัติ

-ฝึกเจริญสติ ด้วยการเดินจงกรม และนั่งสมาธิ
-ฝึกเจริญสติ ในชีวิตประจำวัน
-รายงานผล และส่งอารมณ์

-ฝึกสติรู้ทันความคิดลบ
-ฝึกกระตุ้นสมอง ด้านความคิดเชิงบวก ในปัญหา
-กระทำให้ได้จริงตามที่คิด
-ฝึกกระตุ้นสมอง ด้านการหาเหตุ(อดีต) และผล(อนาคต)

-พัฒนาการใช้ภาษาและสื่อสาร ด้วยการฝึกดังนี้:

   ๑. ด้านการฟัง - ฝึกจินตนาภาพ และการจับประเด็นสำคัญ

   ๒. ด้านการพูด - ฝึกการเล่าเรื่องด้วยจินตนาภาพ การพูด ระดับเสียง ความเร็ว การใช้ภาษาที่ถูกต้อง ใน ลำดับ และ รายละเอียด ด้วยประโยคสมบูรณ์

   ๓. ด้านการถาม - ฝึกการถามให้ครบประโยค และสื่อถึงประเด็นสำคัญ เพื่อข้อมูลที่มีประโยชน์

   ๔. ด้านการสื่อสาร - ฝึกจับรายละเอียดและประเด็นสำคัญ การจดในสมุด ไม่ทำตามที่ตนคิดไปเอง ถ้าไม่แน่ใจ ให้สื่อสารเพื่อถามอีกครั้งให้สมบูรณ์

   ๕. ด้านความกล้าและความมั่นใจในการพูดคุยสนทนา

   ๖. ด้านการออกความคิดเห็น ในเวลาที่เหมาะสม เชิงบวกและสร้างสรรค์ เนื่องจากการศึกษาส่วนใหญ่ จะสอนให้ฟังครู และทำการบ้าน

-ฝึกสร้างกิจกรรมที่มีประโยชน์
-ฝึกเป็นคนใฝ่รู้ตลอดเวลา และรู้จักออกไปหาความรู้จากแหล่งต่างๆ

-ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ แก่ ตนเอง ครอบครัว และช่วยเหลือสังคม
-นำประสบการณ์ความรู้ความชำนาญที่ได้ ไปเผยแผ่แก่สังคม

-ฝึกการเป็นผู้ให้ (GIVER, NOT TAKER)
-สร้างคุณค่าของชีวิต, แก่ครอบครัว และสังคม

-รู้จักคบบัณฑิต ห่างไกลคนพาล
-รู้จักคบเพื่อนที่ดี และทำงานด้วยหลักพุทธธรรม
-รู้จักช่วยเหลือครอบครัว โดยไม่ทำตัวเป็นภาระ

ระยะเวลาการฝึกอบรม

-ฝึกฝนทุกวัน และฝึกที่วัด ทุกเสาร์/อาทิตย์  เป็นเวลา 8 อาทิตย์ ในช่วงแรก 
-นำไปใช้ปฏิบัติต่อเนื่องตลอดไป
-หลังจากสึกออกไป กลับมาฝึกฝนที่วัดอย่างต่อเนื่อง
----------------------------

------------------






































































สอนโดย อณิวัชร์ เพชรนรรัตน์ โทร 097 984 9355
      
ณ ชั้น 2 อาคารปฏิบัติธรรม วัดลาดพร้าว ซอยลาดพร้าว 41 กทม
***ทุกวันเสาร์ อาทิตย์ เวลา 15.30 ถึง 19.30 น. (หยุดทุกวัน ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ ของทุกต้นเดือน)
 
***ในช่วงโควิดระบาด ตั้งแต่ ปี 2564 ทางชมรม จะเปิดสอนทางโทรศัพท์ หรือ ทางไลน์ เท่านั้น ในช่วงบ่าย วันจันทร์ ถึง ศุกร์ แทน กิจกรรม ที่ วัดลาดพร้าว ครับ

***กรุณาโทรนัดก่อนเดินทาง