หากปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานได้ถูกต้อง โดยมีวิปัสสนาจารย์แนะนำจนเกิด วิปัสสนาญาณครบทั้ง
๑๖ และได้บรรลุถึงอารมณ์พระนิพพาน ในระหว่างเส้นทางของการปฏิบัติเพื่อพัฒนาจิตให้เกิดปัญญา (วิปัสสนาญาณ ๑๖),
วิสุทธิ ๗, ไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา) และอริยมรรคมีองค์ ๘ ไปพร้อมๆ กัน จากตารางเปรียบเทียบ หลักการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานทั้ง ๕ ดังนี้
วิธีปฏิบัติ
สมัยพุทธกาล
๑. อานาปานสติ
๒. สติปัฏฐาน ๔
๓. โพชฌงค์
๗
|
วิปัสสนาญาณ ๑๖
|
วิสุทธิ
๗
|
ไตรสิกขา
|
มรรคมีองค์
๘
|
๑. ศีลวิสุทธิ
|
ศีล
|
สัมมาวาจา
สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
|
||
๒. จิตตวิสุทธิ
|
สมาธิ
|
สัมมาวายามะ สัมมาสติ
สัมมาสมาธิ
|
||
๑.นามรูปปริจเฉทญาณ
|
๓. ทิฏฐิวิสุทธิ
|
ปัญญา
โลกียะ
|
สัมมาทิฏฐิ
สัมมาสังกัปปะ
|
|
๒.
ปัจจยปริคคหญาณ
|
๔. กังขาวิตรณวิสุทธิ
|
|||
๓. สัมมสนญาณ
๔.ตรุณอุทยัพพยญาณ
(อ่อน) |
๕. มัคคามัคคญาณทัสสน วิสุทธิ
|
|||
๔.
พลวอุทยัพพยญาณ
(แก่)
๕. ภังคญาณ
๖. ภยญาณ
๗. อาทีนวญาณ
๘. นิพพิทาญาณ
๙.
มุญจิตุกัมยตาญาณ
๑๐. ปฏิสังขาญาณ
๑๑.สังขารุเบกขาญาณ
๑๒. อนุโลมญาณ
๑๓. โคตรภูญาณ
|
๖. ปฏิปทาญาณทัสสน วิสุทธิ
|
|||
๔. วิชชา
และ
วิมุตติ
|
๑๔. มัคคญาณ
๑๕. ผลญาณ
๑๖.
ปัจจเวกขณญาณ
|
๗.
ญาณทัสสนวิสุทธิ
|
ปัญญา โลกุตตระ
หรือ
วิมุตติ
|