Vipassana - Mindfulness Meditation, Bangkok, Thailand

Vipassana - Mindfulness Meditation, Bangkok, Thailand

menu

[ หน้าแรก คำนำ ]
[ ปัญหาจากการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ]
[ ภาคปริยัติ (ทฤษฎี) - พื้นฐานหลักธรรมของชีวิต ]
[ ประวัติกรรมฐานในสมัยพุทธกาล ]
[ ประวัติกรรมฐานในประเทศไทย ]
[ หลักฐานอ้างอิงของ การปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ในพระไตรปิฎก และคีมภีร์สำคัญทางพระพุทธศาสนา ]
[ ตารางเปรียบเทียบ วิปัสสนากรรมฐาน รูปแบบบริกรรม พองหนอ ยุบหนอ กับ มหาสติปัฏฐานสูตร ๒๑ บรรพ ]
[ ตารางเปรียบเทียบ กรรมฐานในสมัยพุทธกาล, วิปัสสนาญาณ ๑๖, วิสุทธิ ๗, ไตรสิกขา และอริยมรรคมีองค์ ๘ ]

[ ***ประโยชน์ของ การเจริญสติปัฏฐาน (วิปัสสนากรรมฐาน) ตามแนวของพระพุทธศาสนา ๓๑ ประการ - ฺฺBENEFITS OF VIPASSANA MINDFULNESS BUDDHISM MEDITATION ]

[ ***ประโยชน์ของ การเจริญสติ / สติคลายเครียด ตามแนวของจิตวิทยาทางการแพทย์ ๓๑ เรื่อง - BENEFITS OF MINDFULNESS in PSYCHOLOGY AND NEUROSCIENCE ]
[ ภาคปฏิบัติ และ เทคนิค ในวิธีปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ]
[ *****วิปัสสนาญาณ ๑๖ - เส้นทางและเป้าหมายของวิปัสสนากรรมฐาน ในรูปแบบกำหนด พองหนอ ยุบหนอ ]
[ ปัจจัยที่ทำให้ วิปัสสนาญาณ ๑๖ ก้าวหน้า ]
[ ภาคปฏิเวธ ]

[ ประวัติ / ประสบการณ์การสอนวิปัสสนา เจริญสติ และการบรรยายของ อ.อณิวัชร์ เพชรนรรัตน์ - ผู้ก่อตั้ง ชมรมศูนย์เจริญสติ ]
[ กิจกรรมที่เป็นประโยชน์ แก่ ชุมชนรอบวัดและประชาชนทั่วไป ]
[ ประวัติแม่ชีบุญมี เวชสาร - วัดสัมพันธวงศาราม วรวิหาร กรุงเทพฯ วิปัสสนาจารย์ สายพองยุบ ศิษย์ของ พระอาจารย์ภัททันตะ อาสภะมหาเถระ สำนักวิเวกอาศรม จ.ชลบุรี ]
[ ประวัติการสอนวิปัสสนากัมมัฏฐานของ แม่ชีบุญมี เวชสาร ]

[ เปิดสอน - 1.1 การเจริญสติ พัฒนา โรคทางใจ - MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR MENTAL DISORDERS and SUFFERINGS เช่น โรคซึมเศร้า (Major Depressive Disorder - MDD) โรคย้ำคิดย้ำทำ(Obsessive Compulsive Disorder - OCD) โรคเครียด(Stress Reduction) โรควิตกกังวล(General Anxiety Disorder - GAD) โรคเครียดจากเหตุการณ์ร้ายแรง (posttraumatic stress disorder - PTSD) โรคสมาธิสั้น (Attention deficit hyperactivity disorder - ADHD) การเจ็บป่วยเรื้อรัง โรคนอนหลับยาก โรคโกรธง่าย และโรคทางใจอื่นๆ ด้วยหลักเจริญสติ ผสมผสานกับ หลักการและแนวคิดเพื่อพัฒนาปัญญา/สมอง ]

[ เปิดสอน - 1.2 การเจริญสติ ช่วยบรรเทา ลด ละ การติดยาเสพติด และป้องกันการกลับมาเสพซ้ำ - MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR DRUG ADDICTED AND RELAPSE PREVENTION ]

[ เปิดสอน - 2. การเจริญสติ พัฒนานิสัยอารมณ์ตนเอง, ปัญหาการทำงาน/อาชีพ และ ปัญหาในครอบครัว - MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR SELF, CAREER AND FAMILY HAPPINESS ]

[ เปิดสอน - 3. การเจริญสติ พัฒนาการเรียน สำหรับ นักเรียน และ นิสิต – MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR STUDENT EDUCATION ]

[ เปิดสอน - 4. การเจริญสติ พัฒนาการสอน/เลี้ยงลูก สำหรับ คู่สามีภรรยา – MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR CHILD TEACHING & PARENTING PREPARATION ]

[ เปิดสอน - 5. การเจริญสติ พัฒนาสมอง/ความจำ สำหรับ ผู้เกษียณ และ ผู้สูงอายุ - MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR RETIRED AND ELDERLY ]

[ เปิดสอน - 6. การเจริญสติ พัฒนานิสัยอารมณ์ /ปัญญา/ เป้าหมายของการบวช/ ไตรสิกขา เพื่อเป็นคนดีของครอบครัว ที่ทำงาน และสังคม สำหรับ พระภิกษุบวชใหม่ - MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR NEW BUDDHIST MONKS ]

[ 7. สนับสนุนสร้าง ศูนย์เจริญสติ - วิปัสสนากัมมัฏฐาน ประจำวัด และ ถวายสอน วิปัสสนากัมมัฏฐาน เพื่อสร้าง พระวิปัสสนาจารย์ - VIPASSANA MINDFULNESS MEDITATION CENTER IN A TEMPLE AND VIPASSANA MEDITATION MASTER FOR MONKS ]

[ 8. กิจกรรมแนะนำ และ สนับสนุนพัฒนาวัด เพื่อสร้าง แผนกปริยัติ ปฏิบัติ และ งานเผยแผ่ แก่ชุมชน - TEMPLE DEVELOPMENT CONSULTANT AND SUPPORT FOR KNOWLEDGE THEORY SECTION, PRACTICE SECTION AND BUDDHIST DISSEMINATION FOR COMMUNITY SERVICES ]

[ 9. VIPASSANA MINDFULNESS MEDITATION IN BANGKOK FOR FOREIGNERS TO DEVELOP SELF TEMPER/EMOTION, WORK/CAREER AND FAMILY HAPPINESS FOR FREE AS PUBLIC SERVICES AND BUDDHIST DISSEMINATION ]

[ 10. MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT AT WORK - การเจริญสติ/ปัญญา ในที่ทำงาน เพื่อพัฒนาบุคลากรในองค์กร ให้เกิดความสุข ปัญญา พัฒนาการทำงาน ปรับปรุงนิสัยตนเอง และ สร้างความสุขในครอบครัว ]

[ 11. MINDFULNESS AT SCHOOL - การเจริญสติใน โรงเรียน แก่ครู เพื่อสอนนักเรียน ในการพัฒนาการเรียน นิสัย ปัญหาครอบครัว สังคมเพื่อน และอนาคต ให้เกิดความสุข / ปัญญา ]

[ 12. CASE STUDIES FOR MENTAL DISORDER BY MINDFULNESS MEDITATION - กรณีศึกษา : ผู้เข้ารับการฝึกเจริญสติ เพื่อบรรเทาช่วยเหลือ โรคทางใจ เช่น โรคแพนิค โรควิตกกังวล โรคซึมเศร้า โรคเครียด โรคนอนหลับยาก โรคย้ำคิดย้ำทำ นอนหลับยาก ]

[ 13. กิจกรรมบริจาคทาน ของ ชมรมศูนย์เจริญสติ วัดลาดพร้าว ]

[ ALMA MATER and EXPERIENCES BACKGROUND OF VIPASSANA MEDITATION TEACHER ]


ปัจจัยที่ทำให้ วิปัสสนาญาณ ๑๖ ก้าวหน้า

ปัจจัยสำคัญที่ให้วิปัสสนาญาณก้าวหน้า ด้วยวิปัสสนากัมมัฏฐาน ตามแนวบริกรรม พองยุบ มีดังต่อไปนี้

๑. พื้นฐานบุญ/บาป ใน ปฏิสนธิจิต ของโยคี(ผู้ฝึก) ที่สะสมมาในอดีต (จากบุคคล ๔ ประเภท/บัว ๔ เหล่า)

๒. วิปัสสนาจารย์(ผู้สอน) ได้รับประสบการณ์การปฏิบัติ วิปัสสนากัมมัฏฐานจริง มิใช่รู้เพียงทฤษฎี หรือปฏิบัติได้เพียงเบื้องต้นเท่านั้น และผู้สอนเคยปฏิบัติจนผ่านวิปัสสนาญาณ ๑๖ มาแล้ว

๓. วิปัสสนาจารย์มีความรู้ด้านปฏิบัติ / ปริยัติ และทฤษฎีหลักการทางวิชาการ

๔. สอนให้โยคีเกิด ศรัทธา(ความเชื่อและปัญญาทำให้เกิด ความรู้ ความเข้าใจ) จนนำสู่การปฏิบัติ ใน 
วิริยะ(การเจริญวิปัสสนา/สติ/การกำหนด) ซึ่งจะเป็นผลให้เกิด สติ สมาธิ(ขณิก อุปจาร อัปปนา) และเกิดปัญญาที่จิต(วิปัสสนาญาณ ๑๖) ตามมา
  
๕. สามารถสอนและสอบอารมณ์ ในการกำหนดรูปนาม/อารมณ์ ให้เกิด สติ(ระลึกรู้/กำหนด) อย่างต่อเนื่อง ตลอดเวลา ของการเดินจงกรม และนั่งสมาธิ จนความคิดเริ่มน้อยลงและสั้นลง(โมหะ โลภะ โทสะ ลดน้อยลง จนเหลือแต่ตัวรูปหรืออารมณ์ที่ถูกกำหนด และนามหรือจิตที่กำหนด)

การกำหนดต้องอยู่ในหลักสติปัฏฐานอย่างต่อเนื่อง ตามจิตไปเท่านั้น มิใช่ขึ้นอยู่รูปแบบ ว่าจะต้องเดินจงกรมเร็วหรือช้า หรือ รูปแบบการกำหนดขณะนั่งสมาธิ เพราะไม่ว่าจะใช้รูปแบบใด ผู้ฝึกสามารถฝึกได้ทั้งช้าและเร็ว ทุกรูปแบบ เป็นเพียงอุปกรณ์เบื้องต้น ในการฝึกเจริญสติเท่านั้น แต่ส่วนมากนิยมสอน ให้ฝึกเดินช้าก่อน  อย่างไรก็ดี หลักสำคัญอยู่ที่ การมีสติกำหนดรู้ภายในจิต ที่ระงับ อารมณ์โมหะ โลภะ โทสะ ไม่ให้เกิดขึ้นได้ในขณะเจริญสติ 

๖. ผู้ฝึกกำหนดไปเรื่อยจนเกิดพระไตรลักษณ์ และเกิดอารมณ์ปรมัตถ์ โดยจิตจะเป็นผู้สอนเอง ตามหลักอนัตตา ผู้ฝึกเป็นเพียงผู้กำหนดหรือผู้ดูเท่านั้น มิใช่ผู้กำกับหรือนักแสดง

๗. วิปัสสนาจารย์ ที่มีประสบการณ์ ในการสอบอารมณ์, แก้สภาวะที่ติดขัด และสอนให้กำหนดอยู่ในเส้นทางของ วิปัสสนาญาณ ๑๖

หลักปฏิบัติตามแนวกำหนดพองยุบ (ด้วยใช้คำบริกรรมพร้อมกับจิตระลึกรู้) จะใช้รูปแบบข้างต้น เป็นหลัก ในการสอบอารมณ์ผู้ปฏิบัติ  ซึ่งต่างจากหลักปฏิบัติตามแบบ พุทโธ สายวัดป่า (ที่ไม่มีองค์บริกรรม เป็นคำในใจ  เพียงแค่ใช้จิตระลึกรู้ โดยเน้นการปฏิบัติตาม ศีล สมาธิ ปัญญา การบวช วัตรปฏิบัติ และการธุดงค์) และไม่ได้ใช้สภาวะของวิปัสสนาญาณ ๑๖ ในการสอนปฏิบัติ

อย่างไรก็ดี การสอนปฏิบัติทั้ง ๒ วิธีเป็นการสอน สติปัฏฐาน และมุ่งเน้น ลดละกิเลส เช่นกัน ต่างแต่ในรูปแบบเบื้องต้น โดยมีเป้าหมายเหมือนกัน