๑. ปัญหาสำหรับผู้สูงอายุ
-การควบคุมนิสัยอารมณ์ของผู้สูงอายุ
และ หลังเกษียณ (EQ)
-ความสัมพันธ์กับ
ลูก หลาน (FAMILY
RELATIONSHIP)
-ความจำมีแนวโน้มลดลง
-การทำงานของเซลล์สมองลดลง
อาจกลับไปคล้ายกับ เซลล์สมองของเด็ก เพราะสมองไม่ค่อยได้ทำงาน (BRAIN CELL TRIM / CUTOFF)
-ความคิดย้ำคิดย้ำทำ
-การใช้อารมณ์เป็นหลัก
ความมีเหตุผลลดลง
-ทุกขทัศนนิยม หรือ ความคิดเชิงลบ (NEGATIVE THINKING)
-บ่น หงุดหงิด
อารมณ์โกรธ เพิ่มมากขึ้น
-วิตกกังวล
และกลัว ต่ออายุที่มากขึ้น
-อารมณ์ซึมเศร้า
เสียใจ ภายในใจ โดยไม่รู้ตัว
-เอาแต่ใจ และ
ตามใจ ตัวเอง
๒. สาเหตุของปัญหา
-การพัฒนาปัญญาอย่างต่อเนื่อง
-การพัฒนาสมองให้ทำงานต่อเนื่อง
-ความรู้ด้านจิตใจ
และอารมณ์
-ความรู้ทางปัญญาทางพุทธศาสนา
และศาสนาอื่นๆ
-การฝึกฝนปฏิบัติที่จิตใจ
-การออกกำลังกายลดลง
-สังคมจำกัด
และลดน้อยลง
-ความสัมพันธ์ของ
คู่สามีภรรยา และลูกหลานลดลง
-ปัญหาของลูกหลาน
ด้านเศรษฐกิจ ครอบครัว และสังคม
-การดูแลสุขภาพใจ
และกาย
-ปัญหาสุขภาพ
ทำให้เกิดความเครียด
-ปัญหาด้านการเงินในการดูแลสุขภาพ
-ปัญหาการนอนไม่หลับ
และหลับยาก
๓. เป้าหมายในการแก้ปัญหา
-มีความสุข
ด้านจิตใจ และร่างกาย
-ลดความทุกข์ให้น้อยลง
-เตรียมตัวก่อนตายด้วยปัญญาและความสุข
-เตรียมสะสม
อริยทรัพย์ภายใน และบุญกุศล เพื่ออนาคตในชาติต่อไป
-พัฒนาเซลล์สมอง
ให้พัฒนาต่อเนื่อง หลายด้าน
-พัฒนาความจำ
-พัฒนาความสัมพันธ์กับ
คู่ครอง และลูกหลาน
-พัฒนาความสัมพันธ์กับสังคมเพื่อน
-ลดความเครียด
กังวล อารมณ์ และความเจ็บป่วยในร่างกาย (MINDFULNESS
STRESS REDUCTION)
-ฝึกฝนจิตให้เกิดความพอเพียง
อยู่ได้ และปล่อยวางได้ กับทุกเหตุการณ์
-สร้าง สุขทัศนนิยม หรือ ความคิดบวก และคิดอย่างมีเหตุผลเป็น
-จิตสร้างสรรค์
และจิตวิทยาเชิงบวก
-พัฒนา หลัก
เหตุ(อดีต) และ ผล(อนาคต) (CAUSE
AND EFFECT)
-พัฒนา
คุณค่าของชีวิต
-พัฒนา
การเป็นผู้ให้ (GIVER,
NOT TAKER)
-ทำประโยชน์ต่อ
ครอบครัว และสังคม ตามประสบการณ์ความชำนาญในวิชาชีพ
๔. วิธีการปฏิบัติเพื่อนำสู่เป้าหมาย
๔.๑ ศึกษาประวัติและความรู้ทั่วไป
-เรียนรู้ข้อดี
ข้อด้อย ของตัวเอง
-ศึกษาย้อนกลับไปสู่เหตุการณ์สำคัญในอดีต
-เรียนรู้เหตุการณ์ในอดีต
-คิดวิเคราะห์เหตุการณ์ได้
-นำอดีตมาใช้ในปัจจุบันเพื่ออนาคต
-ความชำนาญในอดีต
และความสนใจในกิจกรรมต่างๆ
๔.๒ ฝึกฝนด้านทฤษฎี
-หลักพุทธธรรม
-หลักไตรสิกขา
-หลักสติปัฎฐาน
เพื่อนำสู่ภาคปฏิบัติจริง (VIPASSANA
MINDFULNESS MEDITATION)
-ความหมาย
ประโยชน์ และวิธีฝึก การเจริญสติ (MINDFULNESS
MEDITATION)
-การสอน
และการเผยแผ่ เรื่องสติ (MINDFULNESS) ในโลกตะวันตก
-พุทธศาสนากับนักฟิสิกส์และนักวิทยาศาสตร์สมัยใหม่
-การพัฒนาปัญญาเพื่อพัฒนาจิตตนเอง
(WISDOM & ENLIGHTMENT DEVELOPMENT)
-ความสุข 3 ประเภทของ
พุทธศาสนา
-การทำงานของจิต, เรียนรู้อารมณ์ต่างๆ และวิธีบริหารจัดการจิต/อารมณ์
-เรื่องวัฏฏสงสาร
การเวียนว่ายตายเกิด และชาติหน้า
-การสร้างอริยทรัพย์ภายใน
-ความคิดเชิงบวก (POSITIVE THINKING)
-หลักเหตุและผล
-การโปรแกรมสมองเพื่อสร้างสิ่งใหม่ๆ
ตามแนว NLP
-กระบวนการในการแก้ปัญหา
ตามหลักอริยสัจ 4
(BUDDHIST PROBLEM SOLVING)
๔.๓
ฝึกฝนด้านภาคปฏิบัติ
-ฝึกเจริญสติ
ด้วยการเดินจงกรม และนั่งสมาธิ
-ฝึกเจริญสติ
ในชีวิตประจำวัน
-รายงานผล
และส่งอารมณ์
-ฝึกสติรู้ทันความคิดลบ
-ฝึกกระตุ้นสมอง
ด้านความคิดเชิงบวก ในปัญหา
-กระทำให้ได้จริงตามที่คิด
-ฝึกกระตุ้นสมอง
ด้านการหาเหตุ(อดีต) และผล(อนาคต)
-ฝึกกระตุ้นสมอง
ด้านการอ่าน ฝึกคิดสรุป ฝึกเล่าเรื่องบรรยาย
เพื่อสมองด้านภาษา
-ฝึกกระตุ้นสมอง
ด้านการคำนวณ ตัวเลข
-ฝึกสร้างกิจกรรมที่มีประโยชน์ในบ้าน
และสังคม
-ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
แก่ ตนเอง ครอบครัว และช่วยเหลือสังคม
-นำประสบการณ์ความรู้ความชำนาญที่ได้
ไปเผยแผ่แก่สังคม
-ร่วมกิจกรรมต่างๆ
กับสังคม
-พัฒนาการเลี้ยงอบรม
หลาน และลูก ให้เป็นอย่างถูกทาง ด้วยหลักสติ เหตุผล และคิดบวก
-ฝึกการเป็นผู้ให้ (Be GIVER, Not TAKER)
-สร้างคุณค่าของชีวิต, แก่ครอบครัว และสังคม
10 steps of Mindfulness - วิธีการเจริญสติ แนวจิตวิทยาการแพทย์
1.PREPARATION เตรียมใจ เตรียมตัว
2.ATTENTION ตั้งใจรู้ว่ากำลังทำอะไร ไม่ใช่คิดวางแผน
3.FOCUS จดจ่อ ที่ ปลายจมูก หรือ จุดอารมณ์หลัก และอื่นๆ ที่ปรากฎ
4.PRESENT MOMENT สติรู้อารมณ์ปัจจุบันที่เกิดขึ้นชัดเจนแต่ละขณะ
5.AWARENESS สติสัมปชัญญะรู้ตัวทั่วพร้อม และรู้ในอารมณ์ที่เกิดถัดไป
6.LETGO สติรู้ปล่อยวาง รู้เฉย ปราศจากความคิด หรือ นึกเป็นภาพ
7.NON-JUDGEMENT สติรู้เฉย ปราศจากการพิจารณา/คิดตาม
8.MOMENT-TO-MOMENT FLOW สติรู้เฉย ไปเรื่อยๆ ทีละอารมณ์
9.DAILY LIFE PRACTICE ฝึกเจริญสติทุกวัน ทุกอิริยาบถ ทุกที่ ตลอดไป
10.REPORT รายงานการฝึก สอบถาม กับผู้สอนเป็นประจำ ตลอดไป
ระยะเวลาการฝึกอบรม:
ฝึกฝนทุกวันในระหว่างวัน และฝึกปฏิบัติที่วัด ทุกเสาร์/อาทิตย์ เป็นเวลา 8 อาทิตย์ ในช่วงแรก
แล้วนำไปใช้
และฝึกปฏิบัติต่อเนื่องตลอดไป
สอนโดย อ.อณิวัชร์ เพชรนรรัตน์ โทร 097 984 9355
ณ ชั้น 2 อาคารปฏิบัติธรรม วัดลาดพร้าว ซอยลาดพร้าว 41 กทม
***ทุกวันเสาร์ อาทิตย์ เวลา 15.30 ถึง 19.30 น. (หยุดทุกวัน ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ ของทุกต้นเดือน)
***ในช่วงโควิดระบาด
ตั้งแต่ ปี 2564 ทางชมรม จะเปิดสอนทางโทรศัพท์ หรือ ทางไลน์ เท่านั้น
ในช่วงบ่าย วันจันทร์ ถึง ศุกร์ แทน กิจกรรม ที่ วัดลาดพร้าว ครับ