๑. ช่วยลด อาการซึมเศร้า ได้ 75% (Depression)
(http://www.medicaldaily.com/benefits-meditation-mind-and-body-reducing-stress-immune-system-382023)
(http://cogbtherapy.com/depression-los-angeles/)
๒. ทำให้มีชีวิตที่ดีขึ้น 65% (Well-being)
(http://www.medicaldaily.com/benefits-meditation-mind-and-body-reducing-stress-immune-system-382023)
(https://sophia.stkate.edu/cgi/viewcontent.cgi?referer=&httpsredir=1&article=1314&context=msw_papers)
(http://www.medicaldaily.com/benefits-meditation-mind-and-body-reducing-stress-immune-system-382023)
(https://sophia.stkate.edu/cgi/viewcontent.cgi?referer=&httpsredir=1&article=1314&context=msw_papers)
๓. เพิ่มภูมิต้านทานได้ 50% (Immune System) และช่วยลดแรงดันเลือด (Lower Blood Pressure)
(http://www.medicaldaily.com/benefits-meditation-mind-and-body-reducing-stress-immune-system-382023)
(http://www.medicaldaily.com/benefits-meditation-mind-and-body-reducing-stress-immune-system-382023)
๔. เพิ่มเนื้อสมองส่วนสีเทา (Grey Matter ป้องกันโรคสมองเสื่อม / dementia ความจำเสื่อม / Alzheimer,
โรคสันนิบาต ร่างกายสั่น Parkinson) พัฒนาด้านสติเหตุผล ความจำ ความคิดสร้างสรรค์ และยังกระตุ้นการทำงานของสมองในส่วน Prefrontal Cortex (พัฒนาสติ เหตุผล การตัดสินใจ), Anterior Cingulate Cortex (ความตั้งใจ การควบคุมแรงกระตุ้นสิ่งเร้า), Hippocampus (พัฒนาความจำ), และลดการทำงานของ Anterior Insula (ความเครียด ขยะแขยง เกลียด ไม่พอใจ)
๕. ควบคุมสมองด้านอารมณ์ลบ ก้าวร้าวรุนแรงต่อสู้ หรือกลัวหนี (Amygdala - Fight or Flight Mode)
(https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4109098/)
(https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4109098/)
๖. ลดความเครียดได้ ทำให้แก่ช้าลง (Stress Reduction)
(https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3850932/)
(https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3850932/)
๗. ช่วยคลายเครียด ด้วยการสร้างโทเลเมีย (Telomere) คุมที่ปลายของโครโมโซม ซึ่งสามารถลดความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็ง (Dr. Elizabeth Blackburn)
(http://happinessisthailand.com/2016/02/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%8D%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%A2%E0%B8%B7/)
(https://www.psychologytoday.com/blog/therapy-it-s-more-just-talk/201701/the-telomere-effect)
(http://happinessisthailand.com/2016/02/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%8D%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%A2%E0%B8%B7/)
(https://www.psychologytoday.com/blog/therapy-it-s-more-just-talk/201701/the-telomere-effect)
๘. ช่วยให้แก้ไขในขณะเกิดสถานการณ์คับขันได้ดี (Resilience for Daily Struggles Conflicts & Crisis Resolution)
๙. พัฒนาความตั้งใจในการรับรู้ (Kid’s Attention) และควบคุมอารมณ์ได้ดีขึ้น (Emotion Regulation)
(https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5337506/)
(https://www.todaysparent.com/family/mindfulness-for-kids-learning-emotional-regulation-in-school/)
(https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5337506/)
(https://www.todaysparent.com/family/mindfulness-for-kids-learning-emotional-regulation-in-school/)
๑๐. ช่วยให้รู้ทัน ความคิดลบ อารมณ์/ความรู้สึก และพฤติกรรม (Thoughts Emotion and Behavior)
(https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4295876/)
(https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4295876/)
๑๑. ช่วยพัฒนาทักษะในการสื่อสาร มนุษยสัมพันธ์ และการอยู่ร่วมกับสังคมได้ดี (Interpersonal Skills)
(https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0191886907004242)
(https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0191886907004242)
๑๒. ช่วยพัฒนากระตุ้นสมอง ด้านความเมตตา กรุณา และเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่ผู้อื่น (Loving Kindness and Compassion)
(https://positivepsychologyprogram.com/loving-kindness-meditation/)
(https://positivepsychologyprogram.com/loving-kindness-meditation/)
๑๓. ทำให้สมองเกิดคลื่นความสุขภายในที่เรียกว่า แกมม่าเวฟ (Gamma Wave)
(http://web.stanford.edu/group/hopes/cgi-bin/hopes_test/meditation-and-hd/)
(https://blog.mindvalley.com/gamma-brain-waves/)
(https://www.smithsonianmag.com/smart-news/the-worlds-happiest-man-is-a-tibetan-monk-105980614/)
๑๕. ช่วยลดอัตราเสี่ยง เมื่อใช้คู่กับการรักษา DBT (Dialectical Behavior Therapy) สำหรับ โรคทำร้ายตัวเอง การคิดถึงการฆ่าตัวตาย และการรักษาความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบก้ำกึ่ง (BPD - Borderline Personality Disorder) โดย Marsha Linehan
(http://web.stanford.edu/group/hopes/cgi-bin/hopes_test/meditation-and-hd/)
(https://blog.mindvalley.com/gamma-brain-waves/)
(https://www.smithsonianmag.com/smart-news/the-worlds-happiest-man-is-a-tibetan-monk-105980614/)
๑๔. การเจริญสติคลายเครียด และการทำสมาธิ ช่วยสร้างความหนาแน่นเพิ่มขึ้นในสมองส่วน Cortical Thickness ในการป้องกัน Brain Maturation, Aging และ Dementia ซึ่งอาจทำให้เกิดโรค ความจำเสื่อม-Alzheimer, โรคสันนิบาต (ร่างกายสั่น) Parkinson, Vascular Dementias จากงานวิจัยของ Dr. Sara Lazar
(https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5743433/)
(https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/26445019/)
(https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5743433/)
(https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/26445019/)
๑๕. ช่วยลดอัตราเสี่ยง เมื่อใช้คู่กับการรักษา DBT (Dialectical Behavior Therapy) สำหรับ โรคทำร้ายตัวเอง การคิดถึงการฆ่าตัวตาย และการรักษาความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบก้ำกึ่ง (BPD - Borderline Personality Disorder) โดย Marsha Linehan
(http://www.psychotherapybrownbag.com/psychotherapy_brown_bag_a/2009/03/dialectical-behavior-therapy-skills-part-1-mindfulness.html)
๑๖. ช่วยป้องกันการกลับมาเสพซ้ำ และลดอาการ ของโรคซึมเศร้า อยากเสพเหล้า/แอลกอฮอล อยากเสพยา และ SUD - Substance Use Disorder ในสารเสพติดของผู้เสพ (https://www.rehab4alcoholism.com/article/45/ultimate-guide-to-mindfulness-and-addiction)
๑๗. ช่วยให้นอนหลับได้เร็วขึ้น ในโรคนอนหลับยาก Crinical Insomnia
(https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5300077/)
๑๖. ช่วยป้องกันการกลับมาเสพซ้ำ และลดอาการ ของโรคซึมเศร้า อยากเสพเหล้า/แอลกอฮอล อยากเสพยา และ SUD - Substance Use Disorder ในสารเสพติดของผู้เสพ (https://www.rehab4alcoholism.com/article/45/ultimate-guide-to-mindfulness-and-addiction)
๑๗. ช่วยให้นอนหลับได้เร็วขึ้น ในโรคนอนหลับยาก Crinical Insomnia
(https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5300077/)
(https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC6171769/)
๑๘. ช่วยพัฒนาสร้าง ความตั้งใจ จดจ่อ และสมาธิ ให้กับนักเรียน
โดย บทความ The Effects of Mindfulness on Students’ Attention ของ Rose Bringus
(http://sophia.stkate.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=1189&context=maed)
๑๙. ช่วยลด ACTH (AdrenoCorticoTropic Hormone) หรือที่เรียกว่า Stress Hormone ที่ถูกผลิตออกจาก ต่อมไฮโปธาลามัส - hypothalamus และ ต่อม พิททูอิทารี pituitary gland
ความเครียดที่เกิดขึ้นในร่างกายสามารถทำให้เกิดอาการดังนี้
-ไมเกรน - Migrane
-ไฮเปอร์เทนชั่น เครียด - Hypertension
-การอดนอน / นอนหลับไม่เพียงพอ - Sleep Deprivation
-ความเหนื่อยล้า อ่อนเพลีย - Chronic Fatigue Syndrom CFS
-ท้องร่วง หรือ ท้องผูก - Diarrahea or Constipation
-กรดไหลย้อน - Gastroesophageal Reflux Desease GERD / Acid Reflux Disease
-สิว - Acne
-ลมพิษ ผื่นคัน - Hives
-โรคอ้วน - Eating Disorders
-ไขมันสะสมในเส้นเลือด ทำให้แข็ง จนเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ - Atheroscierosis
(https://palousemindfulness.com/docs/what-is-stress.pdf)
๒๐. ช่วยลดความเครียด และลดความเสี่ยงที่จะทำให้ เซลล์สมอง Brain Cells หดตัว บีบแคบเล็กลง ทำลายเซลล์สมอง และยับยั้งการสร้างเซลล์สมองใหม่
(https://bebrainfit.com/effects-chronic-stress-brain/)
๒๑. ช่วยลดความเครียด และลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิต จากการศึกษาปี 2006 พบว่า
ความเครียดมีผลทำให้เกิด ความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตมากถึง 43% เมื่อเราคิดว่ามันอันตรายกับเรา
(www.nicetofit.com/สารแห่งความสุข)
๒๒. ช่วยลดความเครียด เพราะความเครียดอาจทำให้น้ำตาล (Blood Sugar Glucose Level) หัวใจเต้นเร็ว และความดันเลือดสูง (Blood Pressure)
(https://www.google.com/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=web&cd=&cad=rja&uact=8&ved=2ahUKEwjnsebtyKz6AhW9cWwGHVIVBYAQFnoECB8QAQ&url=https%3A%2F%2Fwww.ncbi.nlm.nih.gov%2Fpmc%2Farticles%2FPMC5934947%2F&usg=AOvVaw394TcMMli0ayBgOsIDzimM)
๑๘. ช่วยพัฒนาสร้าง ความตั้งใจ จดจ่อ และสมาธิ ให้กับนักเรียน
โดย บทความ The Effects of Mindfulness on Students’ Attention ของ Rose Bringus
(http://sophia.stkate.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=1189&context=maed)
๑๙. ช่วยลด ACTH (AdrenoCorticoTropic Hormone) หรือที่เรียกว่า Stress Hormone ที่ถูกผลิตออกจาก ต่อมไฮโปธาลามัส - hypothalamus และ ต่อม พิททูอิทารี pituitary gland
ความเครียดที่เกิดขึ้นในร่างกายสามารถทำให้เกิดอาการดังนี้
-ไมเกรน - Migrane
-ไฮเปอร์เทนชั่น เครียด - Hypertension
-การอดนอน / นอนหลับไม่เพียงพอ - Sleep Deprivation
-ความเหนื่อยล้า อ่อนเพลีย - Chronic Fatigue Syndrom CFS
-ท้องร่วง หรือ ท้องผูก - Diarrahea or Constipation
-กรดไหลย้อน - Gastroesophageal Reflux Desease GERD / Acid Reflux Disease
-สิว - Acne
-ลมพิษ ผื่นคัน - Hives
-โรคอ้วน - Eating Disorders
-ไขมันสะสมในเส้นเลือด ทำให้แข็ง จนเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ - Atheroscierosis
(https://palousemindfulness.com/docs/what-is-stress.pdf)
๒๐. ช่วยลดความเครียด และลดความเสี่ยงที่จะทำให้ เซลล์สมอง Brain Cells หดตัว บีบแคบเล็กลง ทำลายเซลล์สมอง และยับยั้งการสร้างเซลล์สมองใหม่
(https://bebrainfit.com/effects-chronic-stress-brain/)
๒๑. ช่วยลดความเครียด และลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิต จากการศึกษาปี 2006 พบว่า
ความเครียดมีผลทำให้เกิด ความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตมากถึง 43% เมื่อเราคิดว่ามันอันตรายกับเรา
(www.nicetofit.com/สารแห่งความสุข)
๒๒. ช่วยลดความเครียด เพราะความเครียดอาจทำให้น้ำตาล (Blood Sugar Glucose Level) หัวใจเต้นเร็ว และความดันเลือดสูง (Blood Pressure)
(https://www.google.com/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=web&cd=&cad=rja&uact=8&ved=2ahUKEwjnsebtyKz6AhW9cWwGHVIVBYAQFnoECB8QAQ&url=https%3A%2F%2Fwww.ncbi.nlm.nih.gov%2Fpmc%2Farticles%2FPMC5934947%2F&usg=AOvVaw394TcMMli0ayBgOsIDzimM)
(https://www.google.com/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=web&cd=&cad=rja&uact=8&ved=2ahUKEwjnsebtyKz6AhW9cWwGHVIVBYAQFnoECDQQAQ&url=https%3A%2F%2Fwww.ncbi.nlm.nih.gov%2Fpmc%2Farticles%2FPMC7270218%2F&usg=AOvVaw27b-2NHRWfSBH8HA1exMPF)
๒๓. ช่วยลดความเครียด เพราะความเครียดอาจทำให้เบื่ออาหาร กินอาหารได้น้อย และทำให้น้ำหนักตัวลดลง แต่บางคนอาจมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น เพราะเกิดอาการอยากทานอาหารประเภทแป้ง
และน้ำตาลเพิ่มขึ้น(Eating Disorders) ในขณะที่มีความเครียด
(https://palousemindfulness.com/docs/what-is-stress.pdf)
๒๔. ช่วยลดความเครียด เพราะความเครียดอาจทำให้เกิดอาการทางร่างกาย เช่น ร้อนวูบวาบตามร่างกาย คลื่นไส้อาเจียน หน้ามืด วิงเวียน แน่นหน้าอก เกิดกรดในกระเพาะมาก ระบบย่อยอาหารหยุดการทำงาน(Digestion Shutdown) และโรคกรดไหลย้อน
(https://autoimmunewellness.com/think-about-it-better-digestion-through-mindfulness/)
๒๕. การเจริญสติต่อเนื่องเกิน ๘ สัปดาห์จะช่วยเพิ่มการทำงานของภูมิต้านทาน (Immune System Functioning) และเพิ่มการทำงานของสมองส่วนซ้าย (Left-Brain Activity) ซึ่งทำหน้าที่ในด้านการใช้สติ เหตุผล ความจำ การตัดสินใจ การใช้ภาษา ฯลฯ จากงานวิจัยของ Dr. Richard Davidson
(https://ritualsofhealing.com/blog/left-brain-activation-and-mindfulness)
๒๖. การเจริญสติต่อเนื่อง สามารถช่วยลด ความเจ็บปวดทั่วไปได้ ๕๗% และ ความเจ็บปวดรุนแรงได้ถึง ๔๐% จากงานวิจัยของผู้ฝึก ๔ วันต่อเนื่อง
(https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4941786/)
๒๗. การเจริญสติบำบัดอย่างต่อเนื่อง ได้ผลดีเช่นเดียวกับ การใช้ยาบำบัดโรคซึมเศร้า จากการค้นพบของการศึกษา
(http://www.independent.co.uk/news/science/mindfulness-therapy-depression-anti-depressants-mental-health-research-meditation-a7003546.html)
๒๘. การเจริญสติอย่างต่อเนื่อง เพิ่มการจดจ่อ (Focus) ความตั้งใจ มุ่งมั่น ในการเรียน และการทำงาน ได้มากกว่าถึง ๑๐ เท่าในกลุ่มทดลอง
(http://www.medicaldaily.com/benefits-meditation-mind-and-body-reducing-stress-immune-system-382023)
๒๙. การเจริญสติอย่างต่อเนื่อง ลดความวิตกกังวล (Anxiety) ได้ถึง ๓๐/๓๙ % ในกลุ่มทดลอง
(http://www.medicaldaily.com/benefits-meditation-mind-and-body-reducing-stress-immune-system-382023)
(http://www.wakehealth.edu/NewsReleases/2013/Anxious_Activate_Your_Anterior_Cingulate_Cortex_With_a_Little_Meditation.htm)
๓๐. การเจริญสติอย่างต่อเนื่อง ช่วยเสริมสร้าง สารสุข (Serotonin) ให้กับสมอง ทำให้เกิดความผ่อนคลาย นอนหลับง่าย ช่วยบรรเทาอาการซึมเศร้า
(https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3044190/)
๓๑. การเจริญสติอย่างต่อเนื่อง ทำให้ระบบประสาท พาราซิมพาเธทิค (Parasympathetic) ทำงานดีขึ้น ซึ่งมีผลทำให้สงบ ลดความเครียดทำให้การเต้นของหัวใจลดลง ความดันโลหิตลดลง
การเผาผลาญอาหารในร่างกายลดลง แก่ช้าลง และ อายุยืนขึ้น
(https://www.psychologytoday.com/us/blog/turning-straw-gold/201109/4-tips-slowing-down-reduce-stress)
๒๓. ช่วยลดความเครียด เพราะความเครียดอาจทำให้เบื่ออาหาร กินอาหารได้น้อย และทำให้น้ำหนักตัวลดลง แต่บางคนอาจมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น เพราะเกิดอาการอยากทานอาหารประเภทแป้ง
และน้ำตาลเพิ่มขึ้น(Eating Disorders) ในขณะที่มีความเครียด
(https://palousemindfulness.com/docs/what-is-stress.pdf)
๒๔. ช่วยลดความเครียด เพราะความเครียดอาจทำให้เกิดอาการทางร่างกาย เช่น ร้อนวูบวาบตามร่างกาย คลื่นไส้อาเจียน หน้ามืด วิงเวียน แน่นหน้าอก เกิดกรดในกระเพาะมาก ระบบย่อยอาหารหยุดการทำงาน(Digestion Shutdown) และโรคกรดไหลย้อน
(https://autoimmunewellness.com/think-about-it-better-digestion-through-mindfulness/)
๒๕. การเจริญสติต่อเนื่องเกิน ๘ สัปดาห์จะช่วยเพิ่มการทำงานของภูมิต้านทาน (Immune System Functioning) และเพิ่มการทำงานของสมองส่วนซ้าย (Left-Brain Activity) ซึ่งทำหน้าที่ในด้านการใช้สติ เหตุผล ความจำ การตัดสินใจ การใช้ภาษา ฯลฯ จากงานวิจัยของ Dr. Richard Davidson
(https://ritualsofhealing.com/blog/left-brain-activation-and-mindfulness)
๒๖. การเจริญสติต่อเนื่อง สามารถช่วยลด ความเจ็บปวดทั่วไปได้ ๕๗% และ ความเจ็บปวดรุนแรงได้ถึง ๔๐% จากงานวิจัยของผู้ฝึก ๔ วันต่อเนื่อง
(https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4941786/)
๒๗. การเจริญสติบำบัดอย่างต่อเนื่อง ได้ผลดีเช่นเดียวกับ การใช้ยาบำบัดโรคซึมเศร้า จากการค้นพบของการศึกษา
(http://www.independent.co.uk/news/science/mindfulness-therapy-depression-anti-depressants-mental-health-research-meditation-a7003546.html)
๒๘. การเจริญสติอย่างต่อเนื่อง เพิ่มการจดจ่อ (Focus) ความตั้งใจ มุ่งมั่น ในการเรียน และการทำงาน ได้มากกว่าถึง ๑๐ เท่าในกลุ่มทดลอง
(http://www.medicaldaily.com/benefits-meditation-mind-and-body-reducing-stress-immune-system-382023)
๒๙. การเจริญสติอย่างต่อเนื่อง ลดความวิตกกังวล (Anxiety) ได้ถึง ๓๐/๓๙ % ในกลุ่มทดลอง
(http://www.medicaldaily.com/benefits-meditation-mind-and-body-reducing-stress-immune-system-382023)
(http://www.wakehealth.edu/NewsReleases/2013/Anxious_Activate_Your_Anterior_Cingulate_Cortex_With_a_Little_Meditation.htm)
๓๐. การเจริญสติอย่างต่อเนื่อง ช่วยเสริมสร้าง สารสุข (Serotonin) ให้กับสมอง ทำให้เกิดความผ่อนคลาย นอนหลับง่าย ช่วยบรรเทาอาการซึมเศร้า
(https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3044190/)
๓๑. การเจริญสติอย่างต่อเนื่อง ทำให้ระบบประสาท พาราซิมพาเธทิค (Parasympathetic) ทำงานดีขึ้น ซึ่งมีผลทำให้สงบ ลดความเครียดทำให้การเต้นของหัวใจลดลง ความดันโลหิตลดลง
การเผาผลาญอาหารในร่างกายลดลง แก่ช้าลง และ อายุยืนขึ้น
(https://www.psychologytoday.com/us/blog/turning-straw-gold/201109/4-tips-slowing-down-reduce-stress)
ประโยชน์ของการเจริญสติ ยังมีอีกมากกว่า 1000 งานวิจัย แสดงให้เห็นถึงคุณค่า และผลที่ได้เชิงวิทยาศาสตร์ พิสูจน์ออกมาเป็นรูปธรรม ยอมรับไปทั่วโลก ในศาสตร์ด้านจิตวิทยาการแพทย์