Vipassana - Mindfulness Meditation, Bangkok, Thailand

Vipassana - Mindfulness Meditation, Bangkok, Thailand

menu

[ หน้าแรก คำนำ ]
[ ปัญหาจากการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ]
[ ภาคปริยัติ (ทฤษฎี) - พื้นฐานหลักธรรมของชีวิต ]
[ ประวัติกรรมฐานในสมัยพุทธกาล ]
[ ประวัติกรรมฐานในประเทศไทย ]
[ หลักฐานอ้างอิงของ การปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ในพระไตรปิฎก และคีมภีร์สำคัญทางพระพุทธศาสนา ]
[ ตารางเปรียบเทียบ วิปัสสนากรรมฐาน รูปแบบบริกรรม พองหนอ ยุบหนอ กับ มหาสติปัฏฐานสูตร ๒๑ บรรพ ]
[ ตารางเปรียบเทียบ กรรมฐานในสมัยพุทธกาล, วิปัสสนาญาณ ๑๖, วิสุทธิ ๗, ไตรสิกขา และอริยมรรคมีองค์ ๘ ]

[ ***ประโยชน์ของ การเจริญสติปัฏฐาน (วิปัสสนากรรมฐาน) ตามแนวของพระพุทธศาสนา ๓๑ ประการ - ฺฺBENEFITS OF VIPASSANA MINDFULNESS BUDDHISM MEDITATION ]

[ ***ประโยชน์ของ การเจริญสติ / สติคลายเครียด ตามแนวของจิตวิทยาทางการแพทย์ ๓๑ เรื่อง - BENEFITS OF MINDFULNESS in PSYCHOLOGY AND NEUROSCIENCE ]
[ ภาคปฏิบัติ และ เทคนิค ในวิธีปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ]
[ *****วิปัสสนาญาณ ๑๖ - เส้นทางและเป้าหมายของวิปัสสนากรรมฐาน ในรูปแบบกำหนด พองหนอ ยุบหนอ ]
[ ปัจจัยที่ทำให้ วิปัสสนาญาณ ๑๖ ก้าวหน้า ]
[ ภาคปฏิเวธ ]

[ ประวัติ / ประสบการณ์การสอนวิปัสสนา เจริญสติ และการบรรยายของ อ.อณิวัชร์ เพชรนรรัตน์ - ผู้ก่อตั้ง ชมรมศูนย์เจริญสติ ]
[ กิจกรรมที่เป็นประโยชน์ แก่ ชุมชนรอบวัดและประชาชนทั่วไป ]
[ ประวัติแม่ชีบุญมี เวชสาร - วัดสัมพันธวงศาราม วรวิหาร กรุงเทพฯ วิปัสสนาจารย์ สายพองยุบ ศิษย์ของ พระอาจารย์ภัททันตะ อาสภะมหาเถระ สำนักวิเวกอาศรม จ.ชลบุรี ]
[ ประวัติการสอนวิปัสสนากัมมัฏฐานของ แม่ชีบุญมี เวชสาร ]

[ เปิดสอน - 1.1 การเจริญสติ พัฒนา โรคทางใจ - MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR MENTAL DISORDERS and SUFFERINGS เช่น โรคซึมเศร้า (Major Depressive Disorder - MDD) โรคย้ำคิดย้ำทำ(Obsessive Compulsive Disorder - OCD) โรคเครียด(Stress Reduction) โรควิตกกังวล(General Anxiety Disorder - GAD) โรคเครียดจากเหตุการณ์ร้ายแรง (posttraumatic stress disorder - PTSD) โรคสมาธิสั้น (Attention deficit hyperactivity disorder - ADHD) การเจ็บป่วยเรื้อรัง โรคนอนหลับยาก โรคโกรธง่าย และโรคทางใจอื่นๆ ด้วยหลักเจริญสติ ผสมผสานกับ หลักการและแนวคิดเพื่อพัฒนาปัญญา/สมอง ]

[ เปิดสอน - 1.2 การเจริญสติ ช่วยบรรเทา ลด ละ การติดยาเสพติด และป้องกันการกลับมาเสพซ้ำ - MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR DRUG ADDICTED AND RELAPSE PREVENTION ]

[ เปิดสอน - 2. การเจริญสติ พัฒนานิสัยอารมณ์ตนเอง, ปัญหาการทำงาน/อาชีพ และ ปัญหาในครอบครัว - MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR SELF, CAREER AND FAMILY HAPPINESS ]

[ เปิดสอน - 3. การเจริญสติ พัฒนาการเรียน สำหรับ นักเรียน และ นิสิต – MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR STUDENT EDUCATION ]

[ เปิดสอน - 4. การเจริญสติ พัฒนาการสอน/เลี้ยงลูก สำหรับ คู่สามีภรรยา – MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR CHILD TEACHING & PARENTING PREPARATION ]

[ เปิดสอน - 5. การเจริญสติ พัฒนาสมอง/ความจำ สำหรับ ผู้เกษียณ และ ผู้สูงอายุ - MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR RETIRED AND ELDERLY ]

[ เปิดสอน - 6. การเจริญสติ พัฒนานิสัยอารมณ์ /ปัญญา/ เป้าหมายของการบวช/ ไตรสิกขา เพื่อเป็นคนดีของครอบครัว ที่ทำงาน และสังคม สำหรับ พระภิกษุบวชใหม่ - MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT FOR NEW BUDDHIST MONKS ]

[ 7. สนับสนุนสร้าง ศูนย์เจริญสติ - วิปัสสนากัมมัฏฐาน ประจำวัด และ ถวายสอน วิปัสสนากัมมัฏฐาน เพื่อสร้าง พระวิปัสสนาจารย์ - VIPASSANA MINDFULNESS MEDITATION CENTER IN A TEMPLE AND VIPASSANA MEDITATION MASTER FOR MONKS ]

[ 8. กิจกรรมแนะนำ และ สนับสนุนพัฒนาวัด เพื่อสร้าง แผนกปริยัติ ปฏิบัติ และ งานเผยแผ่ แก่ชุมชน - TEMPLE DEVELOPMENT CONSULTANT AND SUPPORT FOR KNOWLEDGE THEORY SECTION, PRACTICE SECTION AND BUDDHIST DISSEMINATION FOR COMMUNITY SERVICES ]

[ 9. VIPASSANA MINDFULNESS MEDITATION IN BANGKOK FOR FOREIGNERS TO DEVELOP SELF TEMPER/EMOTION, WORK/CAREER AND FAMILY HAPPINESS FOR FREE AS PUBLIC SERVICES AND BUDDHIST DISSEMINATION ]

[ 10. MINDFULNESS & INTELLIGENCE DEVELOPMENT AT WORK - การเจริญสติ/ปัญญา ในที่ทำงาน เพื่อพัฒนาบุคลากรในองค์กร ให้เกิดความสุข ปัญญา พัฒนาการทำงาน ปรับปรุงนิสัยตนเอง และ สร้างความสุขในครอบครัว ]

[ 11. MINDFULNESS AT SCHOOL - การเจริญสติใน โรงเรียน แก่ครู เพื่อสอนนักเรียน ในการพัฒนาการเรียน นิสัย ปัญหาครอบครัว สังคมเพื่อน และอนาคต ให้เกิดความสุข / ปัญญา ]

[ 12. CASE STUDIES FOR MENTAL DISORDER BY MINDFULNESS MEDITATION - กรณีศึกษา : ผู้เข้ารับการฝึกเจริญสติ เพื่อบรรเทาช่วยเหลือ โรคทางใจ เช่น โรคแพนิค โรควิตกกังวล โรคซึมเศร้า โรคเครียด โรคนอนหลับยาก โรคย้ำคิดย้ำทำ นอนหลับยาก ]

[ 13. กิจกรรมบริจาคทาน ของ ชมรมศูนย์เจริญสติ วัดลาดพร้าว ]

[ ALMA MATER and EXPERIENCES BACKGROUND OF VIPASSANA MEDITATION TEACHER ]


กิจกรรมแนะนำและสนับสนุนพัฒนาวัด เพื่อสร้าง แผนกปริยัติ ปฏิบัติ และ งานเผยแผ่ แก่ชุมชน - TEMPLE DEVELOPMENT CONSULTANT AND SUPPORT FOR KNOWLEDGE THEORY SECTION, PRACTICE SECTION AND BUDDHIST DISSEMINATION FOR COMMUNITY SERVICES


ปัญหาการบริหาร / การอบรมศึกษา และเผยแผ่พุทธศาสนา ของวัดส่วนใหญ่


๑. ปัญหาด้านการบริหารในวัด

   ๑) ระบบการบริหารในวัด (Management)

   ๒) การจัดองค์การในวัด (Organization)

   ๓) การจัดมอบหมายตำแหน่ง ทีมงาน และบุคลากร เพื่อทำหน้าที่รับผิดชอบในวัด (Personnel)

   
๔) คณะทีมงานที่ปรึกษา (Community Specialist Consultants) 

-ขาดการร่วมมือ กับ ฆราวาสที่มีความรู้จากชุมชน ให้มาเป็นที่ปรึกษา ช่วยระดมสมอง ในการแก้ปัญหาต่างๆ และร่วมพัฒนากิจกรรมในวัด เช่น ด้านกฎหมาย ด้านการบริหาร ด้านพัฒนาความรู้ ด้านสาธารณะสุข ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสุขภาพ ด้านจิตวิทยา ด้านก่อสร้างออกแบบ ด้านสมุนไพร ด้านสื่อโฆษณาเพื่อเผยแผ่ ด้านธรรมนิเทศ ด้านการเงิน เป็นต้น

   ๕) การอบรมให้ความรู้ที่ทันสมัย ต่อยุคสังคมที่พัฒนาไปอย่างรวดเร็วมาก (Knowledge Learning and Management)

   ๖) กระบวน และ วิธีการดำเนินการ แก้ปัญหาเก่า และวางแผนป้องกันปัญหาใหม่ ในวัด (Problem Solving)

   ๗) การตรวจสอบและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (Evaluation, Feedback and Sustainable Constant Development)

๒. ปัญหาการอบรมการศึกษา แก่ พระนวกะ และ พระสงฆ์ในวัด

-การสอนเป้าหมายของการบวช วัดหลายแห่งที่ให้ความหมายและสอนว่า พระสงฆ์ คือ ผู้ขอ มิได้สร้างเป้าหมายของการบวช คือ การลดละกิเลส และการพัฒนาจิต

-กระบวนการคัดสรร ตรวจสอบ และสร้างกิจกรรมอบรมการศึกษา (ไตรสิกขา) แก่พระบวชใหม่

-ปัญหาการอบรมสั่งสอนของพระสงฆ์ในวัดด้าน แผนกปริยัติ แผนกปฏิบัติ และงานเผยแผ่แก่ชุมชน

-ปัญหาในการทำหน้าที่พระภิกษุคือ หน้าที่พุทธบริษัท ๔  
   ๑) ปริยัติ 
   ๒) ปฏิบัติ 
   ๓) การเผยแผ่ 
   ๔) การปกป้องคุ้มครองพระพุทธศาสนา - ด้านการควบคุมบุคลากร และกิจกรรมในวัด

-การสนับสนุน และ การสอน การปฏิบัติ ให้เข้าถึงเป้าหมาย ด้วยการสร้างสติ ปัญญา ลดละ กิเลส ๓ (โมหะ โลภะ โทสะ ในใจ) เพื่อนำสู่ความสุขที่สูงกว่า กามสุข คือ สมาธิสุข และ นิพพานสุข

๓. แผนก ปริยัติ

-บุคลากรผู้ชำนาญ ทีมงาน และการสอนเนื้อหาใน พระไตรปิฎก อภิธัมมัตถสังคหะ คัมภีร์วิสุทธิมรรค คัมภีร์อื่นๆ และ หนังสือวิชาการทางโลก ที่เป็นประโยชน์ต่อการเผยแผ่แก่ชุมชน เช่น  ด้านความรู้ ด้านสังคม ด้านจิตวิทยา ด้านสื่อโฆษณาเพื่อเผยแผ่ ด้านธรรมนิเทศ ด้านการบริหาร ด้านครอบครัว ด้านการศึกษา ด้านความคิดเชิงบวก ระบบการพัฒนาความคิดอย่างมีเหตุผล วิธีการแก้ปัญหา เป็นต้น


๔. แผนก ปฏิบัติ (การเจริญสมถ/วิปัสสนากัมมัฏฐาน ตามแนว สติปัฏฐาน ๔)

-บุคลากร การสอน ทีมงาน และสนับสนุนการสร้างพระสงฆ์เพื่อสอน การปฏิบัติให้เกิด สติปัฏฐาน สำหรับนำไปใช้พัฒนา ตนเอง / ครอบครัว อาชีพการงาน และสังคม

-การสนับสนุน และพัฒนา บุคลากรด้านปฏิบัติ

-การสนับสนุน และพัฒนา แผนกปฏิบัติ

-การสนับสนุน กิจกรรมการปฏิบัติ ๕ วิธี เพื่อการบรรลุธรรม ใน วิมุตติสูตร


๕. กิจกรรมเผยแผ่แก่ชุมชน 

-สอนธรรมะ / การบรรยายธรรม / รับปรึกษาปัญหา / ช่วยบรรเทาคลาย ความทุกข์ให้กับชุมชน

-สอนการปฏิบัติ สมถ หรือ สติปัฏฐาน / วิปัสสนากัมมัฏฐาน

-สร้างกิจกรรมที่เป็นประโยชน์แก่ชุมชน เช่น

เปิดการสอนธรรมะ บรรยายธรรม การสนทนาธรรมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
รับฟังให้คำปรึกษาปัญหาชีวิต ครอบครัว อาชีพการงาน 
สร้างห้องสมุด และอินเตอร์เนท 
สร้างศูนย์กลางข้อมูลในวัด สำหรับชุมชน
เป็นศูนย์กลางช่วยเหลือหางาน 
ช่วยด้านสุขภาพ หาหมออาสาช่วยรักษา 
ช่วยด้านสุขภาพแพทย์ทางเลือก การนวด บริหารร่างกาย ยาสมุนไพร 
ช่วยด้านออกกำลังกายแก่ผู้สูงอายุ และทุกวัย
ช่วยสอนการทำอาชีพต่างๆ  
จัดพระสงฆ์ออกไปเยี่ยมในชุมชน เมื่อมีเวลาว่าง เพื่อไปรับฟัง ช่วยเหลือ ให้คำแนะนำ
ในการบรรเทาทุกข์ และสร้างสุข แก่ชุมชน  แล้ว นำชุมชนเข้าร่วม กิจกรรมสร้างสรรค์ของวัด

๖. กิจกรรมแบบดั้งเดิมของวัดส่วนใหญ่ 

-กิจกรรมดั้งเดิมแบบอนุรักษ์นิยม ตามวัฒนธรรมและประเพณี ที่สืบทอดมาจากอดีต ของวัดส่วนใหญ่ มีเพียงกิจกรรม เช่น 

การออกบิณฑบาตร / กิจนิมนต์ฉันเพล / กิจนิมนต์ในงานศพ / กิจนิมนต์นอกวัด / สอนการประพฤติปฏิบัติ กิริยามารยาท / รับสังฆทาน / ฝึกสวดมนต์ / ศึกษาปริยัติ - นวโกวาท นักธรรม ตรี โท เอก / ธรรมบท /ศึกษาหลักสูตรเปรียญธรรมด้านภาษาบาลี (พระบางรูปไม่ได้เรียน) และ กิจกรรมทางประเพณี วัฒนธรรมทางพุทธศาสนา และ บางกิจกรรมที่เป็นประโยชน์แก่ชุมชน  

วัดยังสามารถสร้างกิจกรรมเพิ่มได้อีกมากมาย แก่วัด และแก่ชุมชน เพื่อสอดคล้องกับ สังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว


๗. วัดมุ่งเน้นพัฒนา ศาสนวัตถุ และศาสนสถาน มากกว่า ศาสนิกชน (การพัฒนาคน)

-การพัฒนาคน ด้านจิตใจ คือการเข้าถึงธรรม และช่วยสืบทอดพระพุทธศาสนา ร่วมกับการพัฒนาศาสนสถาน ให้ยั่งยืนได้ดีที่สุดตลอดกาลนาน

-------------------





ร่วมสนับสนุนกิจกรรม / ถวายงานที่ปรึกษา เพื่อพัฒนากิจกรรม แก่วัดที่สนใจ

สอนโดย อ.อณิวัชร์ เพชรนรรัตน์ โทร 097 984 9355




เปิดถวายสอน - สติพัฒนาปัญญา สำหรับ พระภิกษุบวชใหม่ - MINDFULNESS DEVELOPMENT FOR NEW BUDDHIST MONK


เนื้อหาบรรยายและภาคปฏิบัติใน การเจริญสติพัฒนาปัญญา สำหรับ พระภิกษุบวชใหม่:


๑.  ปัญหาที่เกิดขึ้น

     ๑.๑  การอบรมสั่งสอนของวัด


-เป้าหมาย ของการบวช 

-บวชเพื่ออะไร 
-บวชแล้วต้องศึกษาปฏิบัติอะไร 

-สึกออกไปแล้วจะได้อะไรจากวัดแล้วจะประยุกต์ใช้ธรรมะกับชีวิตได้อย่างไร
-การศึกษาอบรมปฏิบัติ -ไตรสิกขา ศีล สมาธิ ภาวนา (สมถ / วิปัสสนาภาวนา)  

-ชื่อเสียงของวัดและพระพุทธศาสนา
-ความศรัทธาและเคารพ ต่อ พระพุทธศาสนา

-กิจกรรมของพระภิกษุในวัด
-การพัฒนาจิตของพระภิกษุในวัด

-การควบคุมนิสัยอารมณ์ ระหว่างที่บวช และนำออกไปใช้หลังจากสึก
-งานเผยแผ่พระพุทธศาสนา และทำประโยชน์ต่อชุมชน

-พฤติกรรมของพระภิกษุในวัด
-ความสัมพันธ์กับพระภิกษุในวัด (SOCIAL RELATIONSHIP)

-การใช้อารมณ์เป็นหลัก ความมีเหตุผลลดลง
-ทุกขทัศนนิยม หรือ ความคิดเชิงลบ
-การฝึกฝน สาวหาเหตุในอดีต และเล็งผลไปถึงอนาคต

-อารมณ์ซึมเศร้า ไม่พอใจ โกรธ เสียใจ ภายในใจ โดยไม่รู้ตัว 
-เอาแต่ใจ และ ตามใจ ตัวเอง 

-มีอคติและความคิดลบ ต่อการสวดมนต์ เพราะ เกิดความเบื่อหน่าย  เจ็บปวด และเวทนาทั้งทางกายใจ ขณะสวดมนต์ ในที่สุดเกิดความไม่เข้าใจ เบื่อ กลัว เข็ด และไม่อยากสวดมนต์
-มีอคติต่อการนั่งสมาธิ และเดินจงกรม

-กลัวต่อการนั่งสมาธิ และเดินจงกรม
-เข็ดขยาดและหนี การปฏิบัติธรรม

-ประโยชน์ที่ได้จากวัด หลังจากสึกออกไป ด้าน จิตใจอารมณ์, การพัฒนาตนเอง ครอบครัว และสังคม
-บวชออกไปแล้วไม่ได้พัฒนาจิตใจตนเองเท่าที่ควร และนิสัยอารมณ์ไม่ได้รับการพัฒนา

-ไม่สามารถประยุกต์หลักธรรม ในการครองตน กับครอบครัว และในที่ทำงาน
-เกิดกิเลส ๓ (โมหะ โลภะ โทสะ) มากกว่า การลดละ ในระหว่างบวช

-ความรู้ในด้านปฏิบัติ หรือ กัมมัฏฐาน
-ความรู้ด้านปริยัติ หรือ ทฤษฎี ของ พระพุทธศาสนา

-การเรียนรู้ในกระบวนการพัฒนาปัญญา (สุตมยปัญญา จินตามยปัญญา และ ภาวนามยปัญญา)
-การอบรมให้เกิด การใฝ่รู้ในความรู้ การพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง และการเสาะหาแหล่งเรียนรู้

-กระบวนและวิธีการฝึกฝน ในการแก้ปัญหา และ หาหนทางแก้ไข
-การใช้ชีวิตในสังคมวัด (การบิณฑบาตร ฉันท์เพลกลางวัน สวดงานศพ รับสังฆทาน เรียนปริยัติ และการอยู่ร่วมกัน กับสังคมพระสงฆ์ในวัด)

-การพัฒนา ด้าน สุขภาพกาย และ สุขภาพใจ
-กิจกรรมที่สนับสนุน พระภิกษุ ในงานเผยแผ่แก่ชุมชน

-การรู้จักใช้ และบริหารจัดการ ปัจจัย/เงิน ที่ได้มาในขณะบวช

     ๑.๒  งานเผยแผ่แก่ชุมชน

-ความเป็นศูนย์กลาง และที่พึ่งทางจิตวิญญาณของชุมชน
-กิจกรรมของวัดแก่ชุมชน

-ปัญหาสังคม ครอบครัว ของชุมชน
-กิจกรรมอีกมากมายที่ชุมชนต้องการ

-ความร่วมมือจากชุมชน
-ความร่วมมือจากผู้เกษียณ และผู้มีความรู้ ที่พร้อมจะร่วมกิจกรรมกับวัด


๒. สาเหตุของปัญหา

-การศึกษาและปฏิบัติ ในหน้าที่ของพุทธบริษัท ๔
-ระบบการบริหาร
-การจัดสรรบุคลากร เพื่อปฏิบัติหน้าที่

-การบริหารของวัด ในกระบวนการรับพระบวชใหม่
-เงื่อนไขและกระบวนการรับพระบวชใหม่

-บุคลากรที่มีความรู้ในการอบรมพระบวชใหม่

-แผนกปริยัติของวัด
-บุคลากรแผนกปริยัติของวัด

-แผนกปฏิบัติของวัด
-บุคลากรแผนกปฏิบัติของวัด

-พื้นฐานความรู้
-การศึกษา (ไตรสิกขา)

-การอบรมสั่งสอนจากครอบครัว
-สภาพแวดล้อม จากเพื่อน / ที่ทำงาน / อาชีพ

-การเผยแผ่หลักปริยัติ และ ปฏิบัติ แก่ชุมชน
-การเรียนรู้สังคมที่เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว

-วิสัยทัศน์ และ ทัศนคติเชิงบวก
-กิจกรรมในวัดที่ก่อเกิด กิเลส ๓ (โมหะ โลภะ โทสะ)

-ความสามารถในการควบคุมกิเลส ๓  ในระหว่างวัน 
-สติปัญญาในระหว่างวัน ขณะบิณฑบาตร, ฉันท์เพล ในหรือนอกวัด และสวดงานศพ (ถ้ามี)

-ความรู้ในการพัฒนาจิตให้กิเลส ๓ ลดน้อยลง 
-ความรู้ทางปัญญาทางพุทธศาสนา

-ความรู้ด้านอื่นๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการเผยแผ่ให้ชุมชน
-การสนับสนุนของวัด


-การประเมินผล และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง


๓. สร้างเป้าหมาย ถึงผลที่ต้องการ

-มีเป้าหมายของการบวชที่ถูกต้อง
-มีความรู้ด้านพระพุทธศาสนาให้ถึงแก่นกลาง

-เข้าถึง ไตรสิกขา ทั้ง ภาคปริยัติและปฏิบัติได้จริง
-เข้าถึง ความสุข ๓ ของพระพุทธศาสนา(กามสุข สมาธิสุข นิพพานสุข) โดยมีความสุข ทั้งด้านจิตใจ และร่างกาย

-ลดความทุกข์ให้น้อยลง
-สร้างศรัทธาในเรื่องวัฏฏสงสาร ชาติต่อไป และ ตายแล้วต้องไปเกิดในภพภูมิต่างๆ

-เตรียมสะสม อริยทรัพย์ภายใน และบุญกุศล เพื่ออนาคตในชาติต่อไป  โดยลดละกิเลส ๓ เพื่อปิดอบายภูมิ ๔
-มีความอดทนต่อความยากลำบาก

-ฝึกฝนปฏิบัติจิตใจให้เป็นพระที่แท้จริง
-ทำประโยชน์ต่อ ตนเอง ครอบครัว และสังคม 

-พัฒนาการเผยแผ่ ด้านธรรมนิเทศ
-พัฒนาสติ และปัญญา ลดละกิเลส ๓ (โมหะ โลภะ โทสะ)

-พัฒนาความสัมพันธ์กับสังคมในวัด
-ฝึกฝนจิตให้เกิดความพอเพียง อยู่ได้ และปล่อยวางได้ กับทุกเหตุการณ์

-พัฒนา สุขทัศนนิยม หรือ ความคิดเชิงบวก (POSITIVE THINKING)
-จิตสร้างสรรค์ และจิตวิทยาเชิงบวก

-พัฒนา หลัก เหตุ(อดีต) และ ผล(อนาคต) (CAUSE AND EFFECT)
-พัฒนา คุณค่าของชีวิต

-พัฒนา การเป็นผู้ให้ (GIVER, NOT TAKER)
-เพื่อเป้าหมายสูงสุด คือ การตัดวัฏฏสงสาร และเข้าถึงพระนิพพาน


๔. วิธีการปฏิบัติเพื่อนำสู่เป้าหมาย

     ๔.๑ ศึกษาประวัติและความรู้ทั่วไป

-เรียนรู้ข้อดี ข้อด้อย ของตัวเอง
-ศึกษาย้อนกลับไปสู่เหตุการณ์สำคัญในอดีต

-เรียนรู้เหตุการณ์ในอดีต
-คิดวิเคราะห์เหตุการณ์ได้

-นำอดีตมาใช้ในปัจจุบันเพื่ออนาคตที่ดี
-ความชำนาญในอดีต และความสนใจในกิจกรรมต่างๆ

     ๔.๒ ฝึกฝนด้านทฤษฎี

-หลักพุทธธรรม
-หลักไตรสิกขา

-หลักสติปัฎฐาน เพื่อนำสู่ภาคปฏิบัติจริง (VIPASSANA or MINDFULNESS MEDITATION)
-ความหมาย ประโยชน์ และวิธีฝึก การเจริญสติ (MINDFULNESS MEDITATION)

-การสอน และการเผยแผ่ เรื่องสติ (MINDFULNESS) ในโลกตะวันตก
-การพัฒนาปัญญาเพื่อพัฒนาจิตตนเอง (WISDOM & ENLIGHTMENT DEVELOPMENT)

-ความสุข 3 ประเภทของ พุทธศาสนา
-การทำงานของจิต, เรียนรู้อารมณ์ต่างๆ และวิธีบริหารจัดการจิต/อารมณ์

-เรื่องวัฏฏสงสาร การเวียนว่ายตายเกิด และชาติหน้า
-การสร้างอริยทรัพย์ภายใน

-ความคิดเชิงบวก (POSITIVE THINKING)
-หลักเหตุและผล

-การโปรแกรมสมองเพื่อสร้างสิ่งใหม่ๆ ตามแนว NLP
-กระบวนการในการแก้ปัญหา ตามหลักอริยสัจ 4 (BUDDHIST PROBLEM SOLVING)

     ๔.๓ ฝึกฝนด้านภาคปฏิบัติ

-ฝึกเจริญสติ ด้วยการเดินจงกรม และนั่งสมาธิ
-ฝึกเจริญสติ ในชีวิตประจำวัน
-รายงานผล และส่งอารมณ์

-ฝึกสติรู้ทันความคิดลบ
-ฝึกกระตุ้นสมอง ด้านความคิดเชิงบวก ในปัญหา
-กระทำให้ได้จริงตามที่คิด
-ฝึกกระตุ้นสมอง ด้านการหาเหตุ(อดีต) และผล(อนาคต)

-พัฒนาการใช้ภาษาและสื่อสาร ด้วยการฝึกดังนี้:

   ๑. ด้านการฟัง - ฝึกจินตนาภาพ และการจับประเด็นสำคัญ

   ๒. ด้านการพูด - ฝึกการเล่าเรื่องด้วยจินตนาภาพ การพูด ระดับเสียง ความเร็ว การใช้ภาษาที่ถูกต้อง ใน ลำดับ และ รายละเอียด ด้วยประโยคสมบูรณ์

   ๓. ด้านการถาม - ฝึกการถามให้ครบประโยค และสื่อถึงประเด็นสำคัญ เพื่อข้อมูลที่มีประโยชน์

   ๔. ด้านการสื่อสาร - ฝึกจับรายละเอียดและประเด็นสำคัญ การจดในสมุด ไม่ทำตามที่ตนคิดไปเอง ถ้าไม่แน่ใจ ให้สื่อสารเพื่อถามอีกครั้งให้สมบูรณ์

   ๕. ด้านความกล้าและความมั่นใจในการพูดคุยสนทนา

   ๖. ด้านการออกความคิดเห็น ในเวลาที่เหมาะสม เชิงบวกและสร้างสรรค์ เนื่องจากการศึกษาส่วนใหญ่ จะสอนให้ฟังครู และทำการบ้าน

-ฝึกสร้างกิจกรรมที่มีประโยชน์
-ฝึกเป็นคนใฝ่รู้ตลอดเวลา และรู้จักออกไปหาความรู้จากแหล่งต่างๆ

-ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ แก่ ตนเอง ครอบครัว และช่วยเหลือสังคม
-นำประสบการณ์ความรู้ความชำนาญที่ได้ ไปเผยแผ่แก่สังคม

-ฝึกการเป็นผู้ให้ (GIVER, NOT TAKER)
-สร้างคุณค่าของชีวิต, แก่ครอบครัว และสังคม

-รู้จักคบบัณฑิต ห่างไกลคนพาล
-รู้จักคบเพื่อนที่ดี และทำงานด้วยหลักพุทธธรรม
-รู้จักช่วยเหลือครอบครัว โดยไม่ทำตัวเป็นภาระ

ระยะเวลาการฝึกอบรม

-ฝึกฝนทุกวัน และฝึกที่วัด ทุกเสาร์/อาทิตย์  เป็นเวลา 8 อาทิตย์ ในช่วงแรก 
-นำไปใช้ปฏิบัติต่อเนื่องตลอดไป
-หลังจากสึกออกไป กลับมาฝึกฝนที่วัดอย่างต่อเนื่อง
----------------------------

------------------






































































สอนโดย อณิวัชร์ เพชรนรรัตน์ โทร 097 984 9355
      
ณ ชั้น 2 อาคารปฏิบัติธรรม วัดลาดพร้าว ซอยลาดพร้าว 41 กทม
***ทุกวันเสาร์ อาทิตย์ เวลา 15.30 ถึง 19.30 น. (หยุดทุกวัน ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ ของทุกต้นเดือน)
 
***ในช่วงโควิดระบาด ตั้งแต่ ปี 2564 ทางชมรม จะเปิดสอนทางโทรศัพท์ หรือ ทางไลน์ เท่านั้น ในช่วงบ่าย วันจันทร์ ถึง ศุกร์ แทน กิจกรรม ที่ วัดลาดพร้าว ครับ

***กรุณาโทรนัดก่อนเดินทาง

เปิดสอน - สติพัฒนาสมอง สำหรับ ผู้เกษียณ และ ผู้สูงอายุ - MINDFULNESS DEVELOPMENT FOR RETIRED AND ELDERLY


๑. ปัญหาสำหรับผู้สูงอายุ

-การควบคุมนิสัยอารมณ์ของผู้สูงอายุ และ หลังเกษียณ (EQ)
-ความสัมพันธ์กับ ลูก หลาน (FAMILY RELATIONSHIP)

-ความจำมีแนวโน้มลดลง 
-การทำงานของเซลล์สมองลดลง อาจกลับไปคล้ายกับ เซลล์สมองของเด็ก เพราะสมองไม่ค่อยได้ทำงาน (BRAIN CELL TRIM / CUTOFF)

-ความคิดย้ำคิดย้ำทำ
-การใช้อารมณ์เป็นหลัก ความมีเหตุผลลดลง

-ทุกขทัศนนิยม หรือ ความคิดเชิงลบ (NEGATIVE THINKING)
-บ่น หงุดหงิด อารมณ์โกรธ เพิ่มมากขึ้น

-วิตกกังวล และกลัว ต่ออายุที่มากขึ้น
-อารมณ์ซึมเศร้า เสียใจ ภายในใจ โดยไม่รู้ตัว
-เอาแต่ใจ และ ตามใจ ตัวเอง

๒. สาเหตุของปัญหา

-การพัฒนาปัญญาอย่างต่อเนื่อง
-การพัฒนาสมองให้ทำงานต่อเนื่อง

-ความรู้ด้านจิตใจ และอารมณ์
-ความรู้ทางปัญญาทางพุทธศาสนา และศาสนาอื่นๆ

-การฝึกฝนปฏิบัติที่จิตใจ
-การออกกำลังกายลดลง

-สังคมจำกัด และลดน้อยลง
-ความสัมพันธ์ของ คู่สามีภรรยา และลูกหลานลดลง

-ปัญหาของลูกหลาน ด้านเศรษฐกิจ ครอบครัว และสังคม
-การดูแลสุขภาพใจ และกาย

-ปัญหาสุขภาพ ทำให้เกิดความเครียด
-ปัญหาด้านการเงินในการดูแลสุขภาพ
-ปัญหาการนอนไม่หลับ และหลับยาก


๓. เป้าหมายในการแก้ปัญหา

-มีความสุข ด้านจิตใจ และร่างกาย
-ลดความทุกข์ให้น้อยลง

-เตรียมตัวก่อนตายด้วยปัญญาและความสุข
-เตรียมสะสม อริยทรัพย์ภายใน และบุญกุศล เพื่ออนาคตในชาติต่อไป

-พัฒนาเซลล์สมอง ให้พัฒนาต่อเนื่อง หลายด้าน
-พัฒนาความจำ

-พัฒนาความสัมพันธ์กับ คู่ครอง และลูกหลาน
-พัฒนาความสัมพันธ์กับสังคมเพื่อน

-ลดความเครียด กังวล อารมณ์ และความเจ็บป่วยในร่างกาย (MINDFULNESS STRESS REDUCTION)
-ฝึกฝนจิตให้เกิดความพอเพียง อยู่ได้ และปล่อยวางได้ กับทุกเหตุการณ์

-สร้าง สุขทัศนนิยม หรือ ความคิดบวก และคิดอย่างมีเหตุผลเป็น
-จิตสร้างสรรค์ และจิตวิทยาเชิงบวก

-พัฒนา หลัก เหตุ(อดีต) และ ผล(อนาคต) (CAUSE AND EFFECT)
-พัฒนา คุณค่าของชีวิต

-พัฒนา การเป็นผู้ให้ (GIVER, NOT TAKER)
-ทำประโยชน์ต่อ ครอบครัว และสังคม ตามประสบการณ์ความชำนาญในวิชาชีพ



๔. วิธีการปฏิบัติเพื่อนำสู่เป้าหมาย

     ๔.๑ ศึกษาประวัติและความรู้ทั่วไป

-เรียนรู้ข้อดี ข้อด้อย ของตัวเอง
-ศึกษาย้อนกลับไปสู่เหตุการณ์สำคัญในอดีต

-เรียนรู้เหตุการณ์ในอดีต
-คิดวิเคราะห์เหตุการณ์ได้

-นำอดีตมาใช้ในปัจจุบันเพื่ออนาคต
-ความชำนาญในอดีต และความสนใจในกิจกรรมต่างๆ

     ๔.๒ ฝึกฝนด้านทฤษฎี

-หลักพุทธธรรม
-หลักไตรสิกขา

-หลักสติปัฎฐาน เพื่อนำสู่ภาคปฏิบัติจริง (VIPASSANA MINDFULNESS MEDITATION)
-ความหมาย ประโยชน์ และวิธีฝึก การเจริญสติ (MINDFULNESS MEDITATION)

-การสอน และการเผยแผ่ เรื่องสติ (MINDFULNESS) ในโลกตะวันตก
-พุทธศาสนากับนักฟิสิกส์และนักวิทยาศาสตร์สมัยใหม่

-การพัฒนาปัญญาเพื่อพัฒนาจิตตนเอง (WISDOM & ENLIGHTMENT DEVELOPMENT)
-ความสุข 3 ประเภทของ พุทธศาสนา

-การทำงานของจิต, เรียนรู้อารมณ์ต่างๆ และวิธีบริหารจัดการจิต/อารมณ์
-เรื่องวัฏฏสงสาร การเวียนว่ายตายเกิด และชาติหน้า
-การสร้างอริยทรัพย์ภายใน

-ความคิดเชิงบวก (POSITIVE THINKING)
-หลักเหตุและผล

-การโปรแกรมสมองเพื่อสร้างสิ่งใหม่ๆ ตามแนว NLP
-กระบวนการในการแก้ปัญหา ตามหลักอริยสัจ 4 (BUDDHIST PROBLEM SOLVING)

     ๔.๓ ฝึกฝนด้านภาคปฏิบัติ

-ฝึกเจริญสติ ด้วยการเดินจงกรม และนั่งสมาธิ
-ฝึกเจริญสติ ในชีวิตประจำวัน

-รายงานผล และส่งอารมณ์
-ฝึกสติรู้ทันความคิดลบ

-ฝึกกระตุ้นสมอง ด้านความคิดเชิงบวก ในปัญหา
-กระทำให้ได้จริงตามที่คิด

-ฝึกกระตุ้นสมอง ด้านการหาเหตุ(อดีต) และผล(อนาคต)
-ฝึกกระตุ้นสมอง ด้านการอ่าน  ฝึกคิดสรุป ฝึกเล่าเรื่องบรรยาย เพื่อสมองด้านภาษา

-ฝึกกระตุ้นสมอง ด้านการคำนวณ ตัวเลข
-ฝึกสร้างกิจกรรมที่มีประโยชน์ในบ้าน และสังคม

-ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ แก่ ตนเอง ครอบครัว และช่วยเหลือสังคม
-นำประสบการณ์ความรู้ความชำนาญที่ได้ ไปเผยแผ่แก่สังคม

-ร่วมกิจกรรมต่างๆ กับสังคม
-พัฒนาการเลี้ยงอบรม หลาน และลูก ให้เป็นอย่างถูกทาง ด้วยหลักสติ เหตุผล และคิดบวก

-ฝึกการเป็นผู้ให้ (Be GIVER, Not TAKER)
-สร้างคุณค่าของชีวิต, แก่ครอบครัว และสังคม

10 steps of Mindfulness - วิธีการเจริญสติ แนวจิตวิทยาการแพทย์

1.PREPARATION  เตรียมใจ เตรียมตัว

2.ATTENTION ตั้งใจรู้ว่ากำลังทำอะไร ไม่ใช่คิดวางแผน

3.FOCUS จดจ่อ ที่ ปลายจมูก หรือ จุดอารมณ์หลัก และอื่นๆ ที่ปรากฎ

4.PRESENT MOMENT สติรู้อารมณ์ปัจจุบันที่เกิดขึ้นชัดเจนแต่ละขณะ

5.AWARENESS สติสัมปชัญญะรู้ตัวทั่วพร้อม และรู้ในอารมณ์ที่เกิดถัดไป

6.LETGO สติรู้ปล่อยวาง รู้เฉย ปราศจากความคิด หรือ นึกเป็นภาพ

7.NON-JUDGEMENT สติรู้เฉย ปราศจากการพิจารณา/คิดตาม

8.MOMENT-TO-MOMENT FLOW สติรู้เฉย ไปเรื่อยๆ ทีละอารมณ์

9.DAILY LIFE PRACTICE ฝึกเจริญสติทุกวัน ทุกอิริยาบถ ทุกที่ ตลอดไป

10.REPORT รายงานการฝึก สอบถาม กับผู้สอนเป็นประจำ ตลอดไป


ระยะเวลาการฝึกอบรม:

ฝึกฝนทุกวันในระหว่างวัน และฝึกปฏิบัติที่วัด ทุกเสาร์/อาทิตย์  เป็นเวลา 8 อาทิตย์ ในช่วงแรก 

แล้วนำไปใช้ และฝึกปฏิบัติต่อเนื่องตลอดไป





สอนโดย อ.อณิวัชร์ เพชรนรรัตน์ โทร 097 984 9355

ณ ชั้น 2 อาคารปฏิบัติธรรม วัดลาดพร้าว ซอยลาดพร้าว 41 กทม
***ทุกวันเสาร์ อาทิตย์ เวลา 15.30 ถึง 19.30 น. (หยุดทุกวัน ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ ของทุกต้นเดือน)
 
***ในช่วงโควิดระบาด ตั้งแต่ ปี 2564 ทางชมรม จะเปิดสอนทางโทรศัพท์ หรือ ทางไลน์ เท่านั้น ในช่วงบ่าย วันจันทร์ ถึง ศุกร์ แทน กิจกรรม ที่ วัดลาดพร้าว ครับ